ยินดีต้อนรับครับ

ขอแนะนำให้ทุกท่าน สมัครสมาชิก เพื่อป้องกันการแอบอ้างชื่อครับ

Mark Mafia

ห้องตะลุมบอล สำหรับคนเก็บกด
  • ไอ้ทหารหัวควย หน้าโง่อย่างมึงทำไมยังไม่ตายห่าหว่ะ หรือว่ามัวแต่แดกแรงคนอื่น หัวหดมุดอยู่ในรู แอบเล่นไฮ-โล ถุย! กระจอกฉิบหาย

    มึงไม่ใด้ไปปกป้องอธิปไตรของชาติหรอกไอ้เหี้ย โน้นโว้ยยย...... ทหารที่ชายแดนเขรมนู้น ตอนนี้เข้ากำลังปกป้องอธิปไตรของชาติ ทหารหาญนักรบ

    ทหารอย่างมึงไปรบกับคนไทยด้วยกัน อันเป็นผลพ่วงจากนโยบายของไอ้เลวทักษิณ ไอ้ระยำพันลพมันฆ่าชาวไทยมุสลิมโดยการสั่งการของไอ้ทักษิณ

    ตั้งแต่ปี2547-2551 ชาว3จังหวัดเสียชีวิตไปแล้ว 3287 ศพ บาดเจ็บห้าพันกว่าคน สมัยก่อนที่ไอ้ทักษิณยังไม่มีอำนาจ เหตุการณ์เผาโรงเรียน เฉลียเกิดขึ้นปีละครั้ง

    ตั้งแต่คำว่า ไอ้โจรกระจอก เกิดขึ้นมาจากปากของไอ้ทักษิณ......... ทหาร ตำรวจ ครู ประชาชนไทยพุทธ ไทยมุสลิม ตายไปแล้วสามพันกว่าศพ บาดเจ็บ พิการ นับไม่ถ้วน

    งบประมาณแผ่นดินลงไปแล้ว สามแสนกว่าล้าน เพราะปากเหี้ยๆของไอ้จัญไรหน้าเหลียมแท้ๆ

    ทหารอย่างมึงไม่มีใครบังคับให้เป็น ถ้ามึงแหกปากเรียกร้องแสดงว่ามึงไม่ใด้ต้องการเสียสละ ต้องการผลประโยชน์ส่วนตน

    ทหารที่ดี กล้าหาญ เสียสละ ประชาชนมองเห็นและไม่ทอดทิ้งพวกท่านแน่นอน
  • ขออัญเชิญพระราชดำรัส บัญทึกไว้ใน สมเด็จกรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์

    เจอบันทึกนี้ให้เอาคำต่อไปนี้ของกูไปประกาศให้คนรู้ว่า

    "กูกรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักด์"

    ผู้เป็นโอรสของพระปิยมหาราช ขอประกาศให้พวกมึงรับรู้ไว้ว่า

    แผ่นดินสยามนี้ บรรพบุรุษ ได้เอาเลือดเอาเนื้อเอาชีวิตแลกไว้ ไอ้-อีมันผู้ใด คิดชั่วร้ายทำลายแผ่นดิน ทำลายชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์

    ฤา กระทำการทุจริต ก่อให้เกิดความเดือดร้อนต่อส่วนรวม จงหยุดการกระทำนั้นเสียโดยเร็ว

    ก่อนที่ที่กูจะสั่งทหารผลาญสิ้นทั้งโคตรให้หมดเสนียดของแผ่นดินสยาม อันเป็นที่รักของกู

    ตราบใดที่คำว่า "อาภากร" ยังยืนหยัดอยู่ในโลก กูจะรักษาผืนแผ่นดินสยามของกูไว้ให้ชาวสยาม

    ลูกหลานทั้งหลาย แผ่นดินใดให้เรากำเนิดมา

    มิให้อนาทรร้อนใจ จงซื่อสัตย์ต่อแผ่นดินนั้น แผ่นดินใดที่ให้ซุกหัวนอน ให้ความร่มเย็นเป็นสุข มิให้อนาทรร้อนใจ จงซื่อสัตย์ต่อแผ่นดินนั้น

    ขอให้ลูกหลานรักชาติให้มากๆ

    "กรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักด์ อาภากร"
  • :o010:พี่ผีข้างบนสุดยอด:o010:
    มีผู้นำดีก็ดีไป
    มีผู้นำจัญไรก็กรรมของกุ:o004:
    :o027:คนไทยด้วยกันทั้งนี้ทะเลาะกันให้ต่างชาติมันหัวเราะเอา:o004:
    จะสีอะไรที่เห็นออกมาก็พี่น้องคนไทย
    เป็นกำลังใจให้ทุกท่าน
    :o061:สู้ ๆ
    ไฟล์แนบ
    13-U0099617-633988388008726250-2.gif 39K
  • Ghost 3 ชั่วโมงก่อน | February 21, 2010, 11:50 pm

    ผมชอบมากครับ พี่ผีข้างบน นับถือ :063::063::063::063::063::063:

    ท่านๆ อ่านบ้างก็ดี

    อยากดูภาค3

    http://www.youtube.com/watch?v=RAxrSYe4J_U
  • ใครจะศรัทธาใครไม่รู้ แต่ผมเชื่อในองค์ท่าน และเชื่อว่าคนไทย เราไม่ทิ้งกันถึงวันนี้จะมีความคิดที่แตกต่างกัน
    แต่ถ้าวันใดคนไทยถูกชาติอื่นรังแกผมเชื่อว่าคนไทยคนอื่นไม่ยอมอยุ่แล้ว
    ***********ขอให้คนไทยรักกันและเชื่อในความเป็นไทยของเราจงเชิดชูและองอาจตามวิถีของไทยที่บรรพบุรุษก่อตั้งมา************
    วีรบุรุษเสียเลือดเสียเนื้อมาตั้งเยอะกว่าจะให้ประเทศนี้คงอยู่ไว้
    เราอย่าได้เสียประเทศนี้โดยง่ายเพราะคนในประเทศของเราเอง
    ไฟล์แนบ
    images[11].jpg 22K
  • สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทรงใช้เลือดหัวของพระยาละแวกกษัติรย์เขรม ล้างพระบาทของพระองค์ หรือเรียกง่ายๆคือ เอาเลือดหัวของกษัติรย์เขรมมาล้างตีนกษัติรย์สยาม
    ไฟล์แนบ
    watsuwan06_thumb[3].jpg 60K
  • นี้ใช่หมาของคุณทหารหรือเปล่า ลูกบีเจ ซะด้วย คงชื้อมาแพง
    ไฟล์แนบ
    DSCF1917.jpg 69K
  • แม่งโครตเท่ ทหารเกณฑ์ผมยาว เงินเดือนน้อย เอาตีนเหงียบหัวหมา
    ไฟล์แนบ
    DSC008472.jpg 30K
    picfljlgjsl2.jpg 41K
  • CommentAuthorvespapink CommentTimeApr 25th 2009 | April 25, 2009, 7:55 pm
    ขอบคุนคับท่านปลัด
    แต่เด๋วพรุ่งนี้มันจะไปอยู่ดี1แล้วคับ
    พี่อ้อยกะพี่อู๊ดต้องดูแลมันดีแน่ๆคับ
    อีก3เดือนผมถึงจะไปรับได้คับ(แบบว่าติดทหาร55555+)

    ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

    กร๊ากๆๆๆๆๆ ไอ้ตะหานเกณฑ์ เวสป้าสีชมพูตัวดำ เงินเดือนน้อยแต่หมาของมันราคาแพงแถมไปฝึกที่ D-1

    กร๊ากๆๆๆๆ

    กร๊ากๆๆๆๆ
  • vespapink
    มึงทหารเหี้ยไร ไม่มีความรู้ไรเลยว่านโยบายใครแม่ง ทำระยำไว้กะพี่น้อง3จังหวัด
    ใครสั่งยิงที่กรืแซะ สมัยไหน
  • ตอนนี้มีคนไทยเลวๆคนหนึ่งกำลังดึงพวกเขมรที่เคยโดนตัดหัวเอาเลือดมาล้างตีนกษัตริของไทย เข้ามารุกรานบ้านเมืองของเรา มาด่าประเทสเราเช้าเย็นต่างๆนาๆ

    และไอ้คนไทยเลวๆคนนั้นมันคือ ไอ้หัวคว ย ทักษิณ ชินวัต และพรรคพวกเสื้อแดง เสียชาติเกิดที่พวกมันเกิดมาเป็นคนไทย

    กูล่ะอยากจะตัดหัวพวกมันแล้วเอาเลือดมันมาล้างตีนพี่น้องชาวไทยเสียจริงๆ และไอ้ทหารเกรกระจอก มึงเป็นชายชาติทหารแต่กลับมาพร่ามบ่น ขากทุ๊ยยย ทหารเขาไม่พูดกันแบบนี้หรอกไอ้ควาย

    ไปล้างถาดกินข้าวเสร็จ แล้วไปเก็บเกงในให้นายด้วยนะมึง

    ผี พระซุ่มอยู่หลังสวน
  • vespapink CommentTime20 ชั่วโมงก่อน | February 21, 2010, 4:49 pm
    สวัดดีคับ
    เห็นมีห้องนี้ด้วย
    ไม่ได้เข้ามานานมากคับ
    อยากจะบอกว่าพวกรัฐบาลมืงจะเอาอะไรกันนักหนา
    พวกมืงปากก็บ่นกันอย่างเดียวว่าอยู่อย่างลำบากคนเสื้องแดงก่อกวนมั่งแหละ
    และทหารอย่างกูเนี่ยอะกูถามมืงหน่อยตอนนี้กูต้องมาเสี่ยงลูกปืนอยู่ที่นราธิวาศ
    กูอยากจะขอมืงอย่างนึงนะไอ้อภิสิท
    มืงอย่าเสือกลงมาเยี่ยมที่3จังหวัดเลย
    มันไม่ได้ทำให้อะไรดีขึ้นหรอก
    ไหนพวกกูจะต้องจัดกำลังจัดขบวนไปต้อนรับมืง
    แทนที่เอากำลังพลตรงนั้นไปคุ้มครองครูเหมือนที่กูทำอยู่ทุกวัน
    แล้วเวลามืงมาทหารอย่างพวกกูต้องเสียเวลารอรับสเด็จมืงซักเท่าไหร่
    แม่งบอกมาก9โมงเช้าโผล่หัวมาตอนบ่าย3
    กูจะบอกมืงให้นะที่มืงมาเป็นนายกมืงทำเพื่อชาติหรือเพื่อตัวเอง
    มืงได้เงินเดือนเดือนเป็นล้าน(รวมโกง)แต่กูได้ต่อเดือนไม่ถึง7พัน
    กูจะบอกให้นะเงินเดือนทหารที่อยู่ที่นี่มันได้เท่าไหร่
    เงินเดือน 3490บาท
    เบี้ยเลี้ยงวันละ 25บาท
    ค่าเสี่ยงภัย เดือนละ1500บาท
    กูถามมืงหน่อยเงินเดือนแค่นี้มันคุ้มมั้ยกับการที่ต้องมาเสี่ยงลูกปืน
    คุ้มมั้ยที่ไม่รู้เลยว่าจะตายในสภาพไหน
    และจะตายเมื่อไหร่
    กูทำเพื่อประเทศชาติแล้วคนอย่างมืงเคยหันมามองทหารอย่างพวกกูมั่งมั้ย
    วันๆก็เอาแต่เลียตูดให้พวกทหารบิ๊กๆ
    มืงมันไม่ได้ช่วยแล้วยังมาทำลายกันอีกนะ
    แค่นี้ประเทศก็จะล่มจมกันแล้ว
    ลาออกยิ่งเร็วก็ยิ่งดีนะ
    +++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++
  • กูจะบอกให้นะเงินเดือนทหารที่อยู่ที่นี่มันได้เท่าไหร่
    เงินเดือน 3490บาท
    เบี้ยเลี้ยงวันละ 25บาท
    ค่าเสี่ยงภัย เดือนละ1500บาท

    =====================================================

    โอ้ววว พ่อทหารเกณฑ์คอยรัก ทำไมช่างน่าสงสาร

    ใครเห็นใจพ่อทหารเกณฑ์คนนี้ ไปพูดคุยกับเค้าใด้ใน vespapink.hi5.com
  • กร๊ากกกก........ เคยเข้าไปแล้วในฮี่ห้าของพ่อตะหานคนนี้ ไม่น่าเชื่อว่าตะหานคนนี้ที่ปากเขาแพร่มว่าเขาคือนักรบ เวลาเล่นฮี่ห้าจะแต่วแตกกระตู๊วู้ กร๊ากกกกกก........
  • น้าผมเป็นทหาร ยศจ่าสิบเอก ตอนนี้ประจำอยู่ตากใบ ผมเคยถามว่า แถวนั้นน่ากลัวไหม รุนแรงมากหรือเปล่า
    น้าผมบอกว่า มันเป็นเรื่องธรรมดา ชินแล้ว เด๋วนี้ไม่ค่อยบ่อย แต่รุนแรงขึ้น ถามว่ากลัวไหม น้าผมตอบว่า ถ้ากลัวก็ไม่ต้องมาเป็นทหาร
  • น้าผมตอบว่า ถ้ากลัวก็ไม่ต้องมาเป็นทหาร
    สุดยอด นับถือ
    vespapink ใจมด มึงดูน้าข้างบน เป็นตัวอย่าง เลี้ยงพิต แต่ใจเท่ามด พิตโดนกัดไม่เคยร้องนี่ไร มึง ร้องเป็นหมาวัด
  • vespapink...........แล้วมันเป็นหน้าที่ของมึงป่ะ จะบ่นทำห่าไร
  • เรียนนักอุดมการณ์จอมปลอมบางท่าน โปรดอย่าด่าเหน็บแนมแต่คนอื่นที่คิดไม่เหมือนตัวเองเลย
    เพราะมันไม่ทำให้ตัวเองดูดีขึ้นหรอกครับ ลองถามตัวท่านเองซิว่า ทุกวันนี้ท่านได้ทำอะไรตอบแทนสังคมบ้าง
    ผมอยากเห็นการแสดงความเห็นแบบสร้างสรรค์ครับ ไม่ใช่การพยายามแบ่งฝ่ายแล้วด่าคนที่คิดไม่เหมือนตัวเองเท่านั้น

    ใช้หัวเยอะๆ อย่าใช้แต่กำลังครับ


    อันนี้ด่าตัวเองเหรอ เหน็บแหนบคนอื่นก็เป็น
    ผมล่ะงง

    ชักเบื่อพวกอุดมการณ์ขี้ฟันวะ พล่ามแต่ความเลวคนอื่น อยากรู้จัง ชีวิตจริงเคยทำความดีอะไรตอบแทนประเทศชาติบ้าง
    การยกตนข่มท่านพูดเอาดีเข้าตัว เอาชั่วให้คนอื่น สร้างความแตกแยก คนแบบนี้นะหรือจะมีอุดมการณ์จริง
    คงได้แต่พูดเอามันส์ไปวันๆเท่านั้น แต่หาสาระไม่ได้

    ใครโกง ใครไม่โกง ใครดี ใครเลว คนอื่นอาจจะไม่รู้แต่ตัวเขาเองรู้ครับ
    2 มาตราฐาน
  • ไอ้เหี้ยเป็นทหารใจหีมด มีเงินเอาหมาไปฝึกดี วัน
  • "ใน บ้านเมืองนั้น มีทั้งคนดีและคนไม่ดี ไม่มีใครที่จะทำให้ทุกคนเป็นคนดีได้ทั้งหมด การทำให้บ้านเมืองมีความปกติสุข เรียบร้อยจึงมิใช้การทำให้ทุกคนเป็นคนดี หากแต่อยู่ที่การส่งเสริมความดี ให้คนดีปกครองบ้านเมือง และควบคุมคนไม่ดี ไม่ให้มีอำนาจไม่ให้ก่อความเดือดร้อนวุ่นวายได้"

    พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบัน
    ให้ไว้เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2512 ในพิธีเปิดงานชุมนุมลูกเสือแห่งชาติ ณ ค่ายลูกเสือวชิราวุธ จังหวัดชลบุรี
  • vespapink มึงนี่มันตัวเหี้ยเรียกพ่อเลย ไม่ได้รู้หน้าที่และบทบาทที่ได้รับมอบหมายให้ทำ หากมีคนคิดแบบมึงอย่างนี้บ้านเมืองฉิบหายก็เพราะคนแบบมึง
    เค้าให้มึงมาเป็นทหารมีหน้าที่ก็ทำไป
    นายกเค้ามาตรวจเยี่ยมมารับทราบปัญหา มาเป็นกำลังใจให้พี่น้อง 3 จว. มาเป็นสัญญลักษณ์ว่าทุก พท.ในประเทศไทยมีความสงบ ไม่น่ากลัว นักธุรกิจเห็นก็จะกล้าที่จะลงทุน

    หากไอ้พวกเหี้ยเสื้อแดงมาไล่ ทุกที่แล้วใครมันจะกล้ามาว่ะ
    แล้วมึงก็ดูซิอย่างพี่ๆน้าผีเค้าบอกมาไว้ ว่าใครมันสั่งยิง ใครมันฒ่าตัดตอน เดียวนี้มันไปสุ่มหัวกันจัดตั้งกองกำลังเถื่อน
  • ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย (เอสเอ็มอีแบงก์) ร่วมกับกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม (กสอ.) ขอเชิญผู้ประกอบการเข้าอบรมหลักสูตร "ทายาทธุรกิจ" รุ่นที่ 1 โดยไม่มีค่าใช้จ่ายใดๆ ทั้งสิ้น ระหว่างวันที่ 10-21,24-26 และ 27 พ.ค. 53 เพื่อต่อยอดและเสริมความรู้ให้ทายาทธุรกิจ โดยคุณสมบัติต้องเป็นทายาทของผู้ประกอบการ สอบถามรายละเอียดได้ที่เอสเอ็มอีแบงก์ทุกสาขา หรือโทร. 1357
  • กูจะบอกให้นะเงินเดือนทหารที่อยู่ที่นี่มันได้เท่าไหร่
    เงินเดือน 3490บาท
    เบี้ยเลี้ยงวันละ 25บาท
    ค่าเสี่ยงภัย เดือนละ1500บาท
    กูถามมืงหน่อยเงินเดือนแค่นี้มันคุ้มมั้ยกับการที่ต้องมาเสี่ยงลูกปืนคุ้มมั้ยที่ไม่รู้เลยว่าจะตาย


    มึงโดรตเหี้ย จริงเลยไอ้ทหารส้นตีน ลุงรับไม่ได้จริงๆเลย ถ้าพลเรือนออกมาว่า ก็ว่าไปอย่าง แต่เหี้ยนี้เป็นพลทหารกลับ แต่กับผยอง
    คิดเหี้ยๆกับผู้นำ มึงมีหน้าที่ ต้องดูแลเค้าแต่มึงกลับ คิดเหี้ยๆกับเค้า

    ใครรู้บ้างว่าไอ้หมอนี้ มันอยู่ค่ายไหน หน่วยไหน โทรบอก ผบ. มันหน่อยดิ


    ไอ้ทหารส้นตีน จากลุงผี
  • CommentAuthorvespapink CommentTime4 นาทีก่อน | February 23, 2010, 2:19 pm

    จุ๊ๆๆๆ
    น้าผี
    พอดีไม่มีเวลาว่างจะมาเถียงพวกคุน
    ผมไม่สนในหรอกนะว่า
    คุนจะด่าผมยังงัย
    แล้วผมก็ไม่เคยแคร์เรื่องเงินเดือนทหาร
    คุนลองกลับไปคิดนะคับตอนที่คุนเป็นทหาร
    คุนได้มาเจอประสพการณ์แบบนี้รึป่าว
    ถึงพวกคุนจะด่าผมยังงัยเรื่องที่ผมมาเป็นทหาร
    แต่ผมก็ภูมิจัยที่ได้รับใช้ชาติจิงๆ
    ไม่ใช่รับใช้คนบางกลุ่ม(พวกไปอยู่บ้านนาย ทำงานเดินเอกสารให้นาย อยู่ที่สบายๆ)
    อีกอย่างผมก็ไม่ได้โดนบังคับมา
    ผมตั้งใจลงมาที่นี่เอง
    แล้วคนดีๆอย่างน้าผีไปอยู่ไหนหรอคับหรือไปทำอะไรอยู่

    +++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++

    ไอ้หน้าหนังตีนแล้วมึงเสือกบ่นทำควยไร
  • vespapink ข้อความมันหาย มันลบหนีไปแล้ว ทหารไรว่ะ กล้าๆหน่อยพูดออกมาแล้ว
  • http://pitbullzone.com/community/comments.php?DiscussionID=13300&page=1#Comment_165022
  • สนง.เขตดุสิต จัดงานรำลึกวัดเบญจมบพิตรในวันที่ 24 ก.พ.53 ณ วัดเบญจมบพิตร ในงานมีกิจกรรมน่าสนใจ อาทิ การแสดงแสง สี เสียง สื่อผสม การแสดงโขน การแสดงหุ่นสาย พร้อมเชิญชวนชมความงามของสถาปัตยกรรมวัดเบญจมบพิตร

    สำนักงานเขตดุสิต กรุงเทพมหานคร จัดงานรำลึกวัดเบญจมบพิตร ในวันพุธที่ 24 กุมภาพันธ์ 2553 ณ วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ในกรุงเทพมหานคร ในงานมีกิจกรรมน่าสนใจ ประกอบด้วย การแสดงแสง สี เสียง และสื่อผสม เรื่องราวความสำคัญและสิ่งอันทรงคุณค่าของวัดเบญจมบพิตร การแสดงมหรสพไทย การแสดงโขนเรื่องรามเกียรติ์ ตอนนางลอย การแสดงหุ่นสายเรื่องเด็กชายกับใบโพธิ์ โดยคณะหุ่นสายเสมา ซึ่งเป็นคณะหุ่นที่คว้ารางวัลในเทศกาลหุ่นโลก ปี 2009 การจำหน่ายสินค้าจากชุมชนต่างๆในกทม. มีทั้งงานศิลปหัตถกรรม อาหาร เครื่องดื่ม และสินค้ามากมาย

    นอกจากนี้ทางผู้จัดงานยังเชิญชมความงามภายของสถาปัตยกรรมภายในวัดเบญจมบพิตร ณ จุดต่างๆภายในวัด อาทิ พระอุโบสถ พระที่นั่งทรงผนวช พระที่นั่งทรงธรรม ศาลาสี่สมเด็จ วิหารสมเด็จ(ส.ผ.) พิพิธภัณฑ์พระอนุสรณ์ อ.ป.ก. และศาลาร้อยปีปิยะมหาราชอนุสรณ์ โดยมียุวชนอาสาสมัครคอยแนะนำสถานที่สำคัญภายในวัดตั้งแต่เวลา 10.00 น.

    สำหรับงานนี้ทางสำนักงานเขตดุสิตได้จัดบริการรถรางรับ-ส่ง และชมเมือง ในเส้นทาง ถ.ศรีอยุธยาผ่านแยกสี่เสาเทเวศน์ ผ่านตลาดเทเวศน์ เข้า ถ.สามเสน แวะจอดรับ-ส่ง บริเวณถนนข่าวสาร และเข้าสู่ ถ.ราชดำเนินกลาง เลี้ยวเข้า ถ.พิษณุโลก ผ่านทำเนียบรัฐบาล เข้า ถ.นครปฐม สู่หน้าวัดเบญจมบพิตร โดยจะมีรถรางบริการในช่วงเวลา 16.00 น.-20.00 น. ฟรี
  • ลูกเมีย คุณทักษิณเปิดตูดไปสิงห์โปแล้วจ้า

    เสื้อแดง สู้ๆ
  • เอาความเหี้ยของนักวิชาการเสื้อแดงมาให้ดู

    ?ข้อเสนอ 8 ข้อการปฏิรูปสถาบันพระมหากษัตริย์ เพื่องายต่อการโค้นล้มในอนาตค"

    1. ยกเลิกรัฐธรรมนูญมาตรา 8 เพิ่มมาตราในลักษณะเดียวกับรัฐธรรมนูญ 27 มิถุนายน 2475 (สภาพิจารณาความผิดของกษัตริย์)
    2. ยกเลิกประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112
    3. ยกเลิกองคมนตรี
    4. ยกเลิก พ.ร.บ.จัดระเบียบทรัพย์สินฝ่ายพระมหากษัตริย์ พ.ศ. 2491
    5. ยกเลิกการประชาสัมพันธ์ด้านเดียวทั้งหมด การให้การศึกษาแบบด้านเดียวเกี่ยวกับสถาบันทั้งหมด
    6. ยกเลิกพระราชอำนาจ ในการแสดงความเห็นทางการเมืองทั้งหมด (4 ธันวา, 25 เมษา "ตุลาการภิวัฒน์" ฯลฯ)
    7. ยกเลิกพระราชอำนาจในเรื่องโครงการหลวงทั้งหมด
    8. ยกเลิกการบริจาค/รับบริจาคโดยเสด็จพระราชกุศลทั้งหมด

    สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล
  • ไอ้เหี้ยสมศักดิ์ ไอ้ลาวอพยพ มึงเป็นใคร โครตของมึงอพยพ มาอาศัยหาแดกในแผ่นดินนี้ มึงเคยทำประโยชน์อะไรให้กับชาติบ้าง

    ประเทศนี้ให้มึงกิน อยู่สุขสบายกว่าประชาชนเจ้าของชาติซะอีกไอ้เหี้ย คิดล้มล้างศูนย์รวมดวงใจของคนทั้งชาติ มึงคิดดีแล้วใช่มั้ย แม่ของมึงจะอยู่ใด้อย่างสงบสูขหรือไม่

    ถ้าถึงวันนั้นมึงกับประชาชนอย่างกูใด้เจอกัน
  • สมศักดิ์เกิดวันที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2501 จบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ 5 จากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย (ส.ก.2514 หรือ รุ่น 90 เลขประจำตัวนักเรียน 18064) จบการศึกษาปริญญาตรี (เกียรตินิยมอันดับ 1) สาขาประวัติศาสตร์ จากคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จบการศึกษาระดับปริญญาเอกจากมหาวิทยาลัยโมนาช ประเทศออสเตรเลีย โดยทำวิทยานิพนธ์เรื่อง The Communist Movement in Thailand ปัจจุบัน สมศักดิ์เป็นอาจารย์ประจำภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

    [แก้] ประวัติการทำงาน
    สมศักดิ์เป็นผู้ที่สนใจกิจกรรมทางการเมืองมาตั้งแต่เป็นประธานนักเรียนโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย และเป็นหนึ่งในผู้จัดทำหนังสือ "ศึก" ซึ่งเป็นหนังสือรุ่นที่แจกจ่ายในวันสมานมิตร'๑๗ (งานประจำปีของโรงเรียน) [1] เป็นอดีตแกนนำนักศึกษาธรรมศาสตร์ ซึ่งช่วง 6 ตุลา ทำหน้าที่โฆษกบนเวทีชุมนุมของนักศึกษาภายในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และเป็น 1 ใน 18 ผู้ถูกจับกุมจากการล้อมปราบนักศึกษาประชาชนหัวก้าวหน้าเมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2519 อันประกอบด้วย นายสุธรรม แสงประทุม, นายอภินันท์ บัวหภักดี, นายธงชัย วินิจจะกูล, นายประพนธ์ วังศิริพิทักษ์, นายวิโรจน์ ตั้งวาณิชย์, นายมหินทร์ ตันบุญเพิ่ม, นายประยูร อัครบวร, นายอรรถการ อุปถัมภากุล, นายสุรชาติ พัชรสรวุฒิ, นายอนุพงศ์ พงศ์สุวรรณ, นายโอริสสา ไอยราวัณวัฒน์, นายเสรี ศิรินุพงศ์, นายอารมณ์ พงศ์พงัน, น.ส.เสงี่ยม แจ่มดวง, น.ส.สุชีลา ตันชัยนันท์, นายสุรชาติ บำรุงสุข, นายบุญชาติ เสถียรธรรม

    สมศักดิ์ถูกจับกุมขณะหลบอยู่ในกุฏิพระในวัดมหาธาตุ ข้างธรรมศาสตร์พร้อมกับนักศึกษาอีกหลายสิบคน ภายหลังได้รับการนิรโทษกรรมเมื่อวันที่ 16 กันยายน 2521

    สมศักดิ์เป็นนักประวัติศาสตร์ที่มีความสนใจในประวัติศาสตร์ไทยยุคใกล้ โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับการเมืองการปกครอง รวมทั้ง ผลงานการศึกษาค้นคว้าและการตีความประวัติศาสตร์จำนวนมาก โดยเฉพาะการศึกษาบทบาทของสถาบันพระมหากษัตริย์ในช่วงที่มีการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง เช่นใน เหตุการณ์สวรรคตของรัชกาลที่ 8, การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475, เหตุการณ์ 14 ตุลา, เหตุการณ์ 6 ตุลา และรัฐประหาร พ.ศ. 2549 งานส่วนใหญ่มีการเผยแพร่ในอินเทอร์เน็ต เช่น บทความในเว็บไซต์มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน,ฟ้าเดียวกัน, หนังสือพิมพ์ออนไลน์ประชาไท นอกจากนี้ยังได้แสดงความเห็นในเว็บไซต์ต่างๆ โดยใช้ชื่อนามสกุลจริง เช่น เว็บบอร์ดฟ้าเดียวกัน [1] และนิวแมนดาลา [2]

    สมศักดิ์ เจียมธีรสกุลมักจะเป็นชื่อแรก ๆ เสมอเมื่อมีวิวาทะในประเด็นปัญญาชน สังคมนิยม ลัทธิมาร์กซ์ โดยเฉพาะประเด็นการเคลื่อนไหวของขบวนการฝ่ายซ้ายไทย[ต้องการอ้างอิง]

    [แก้] ผลงาน
    [แก้] หนังสือ
    ประวัติศาสตร์ที่เพิ่งสร้าง
    [แก้] บทความ
    กรณีถวัติ ฤทธิเดช ฟ้องพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ
    สมัคร สนุทรเวช กับถนนปรีดี
    สมศักดิ์ เจียมธีระสกุล, 2536. ?ความผิดพลาดทางประวัติศาสตร์ของปรีดี พนมยงค์.? ผู้จัดการรายวัน, วันที่ 28 มิถุนายน 2536, พิมพ์ซ้ำในสุพจน์, 2536.
    ร.7 สละราชย์ ราชสำนัก, การแอนตี้คอมมิวนิสม์ และ 14 ตุลา
    พระราชหัตถเลขาสละราชย์ ร.7 ชีวประวัติของเอกสารฉบับหนึ่ง
    ปรีดี พนมยงค์, จอมพล ป., กรณีสวรรคต และรัฐประหาร 2500
    จุดเปลี่ยน 2500: เผ่า, สฤษดิ์ และพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย
    การชำระประวัติศาสตร์ 14 ตุลา ภายใต้พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย
    เหมาเจ๋อตง กับขบวนการนักศึกษาไทย
    กงจักรปีศาจ และหนังสือเกี่ยวกับกรณีสวรรคต
    เพลงพระราชนิพนธ์การเมือง กับการเมืองปี 2518-2519
    ชนวน:ภาพละครแขวนคอ ที่นำไปสู่กรณี 6 ตุลา
    คืนที่ยาวนาน:การไม่ตัดสินใจสลายการชุมนุมในธรรมศาสตร์ คืนวันที่ 5 ตุลาคม 2519
    ใครเป็นใครในกรณี 6 ตุลา
    ป๋วย อึ๊งภากรณ์, สล้าง บุนนาค, ธานินทร์ กรัยวิเชียร
    ป๋วย อึ๊งภากรณ์ ปีเกิด, ลูกจีน, 6 ตุลา
    ลมเอยช่วยเป็นสื่อให้...
    [แก้] อ้างอิง
    1.^ ศึก สวนกุหลาบ
    [แก้] แหล่งข้อมูลอื่น
    เว็บบล็อกของสมศักดิ์ เจียมธีรสกุล
    somsak รวมบทความของสมศักดิ์
    somsak's footnotes เชิงอรรถของบทความ
    somsak's work บันทึกงาน
    somsak's coup รวมกระทู้รัฐประหาร
  • หมาตดใส่ห้องแอร์
    บัดซบจิงๆเลย:m103:
  • ใครคิดไม่ดีต่อพระองค์
    ขอให้มันฉิบหายๆๆๆๆ ภายในสามวันเจ็ดวัน ไม่มีความก้าวหน้าในชีวิต
    สาธุ
  • "ใน บ้านเมืองนั้น มีทั้งคนดีและคนไม่ดี ไม่มีใครที่จะทำให้ทุกคนเป็นคนดีได้ทั้งหมด การทำให้บ้านเมืองมีความปกติสุข เรียบร้อยจึงมิใช้การทำให้ทุกคนเป็นคนดี หากแต่อยู่ที่การส่งเสริมความดี ให้คนดีปกครองบ้านเมือง และควบคุมคนไม่ดี ไม่ให้มีอำนาจไม่ให้ก่อความเดือดร้อนวุ่นวายได้"

    อย่าลืมและจงนำไปปฎิบัติ ลุงผีฝากด้วย
  • ทำไมเราไม่เคยได้ยินมันพล่ามถึงเงินที่ถูกอายัดที่อังกฤษ...เลยแม้สักครั้ง..

    ... " อังกฤษเผยยึดวีซ่า?ทักษิณ?แท้จริงพัวพันเงินใต้ดิน

    ....แรกเข้าใจว่าอังกฤษยึดวีซ่า ?ทักษิณ? จากสาเหตุเป็น นช.หนีคดีศาลไทย แท้จริงอังกฤษอายัดเงิน US$1.4 billions เพราะถอนมาจากธ.ในสวิสต์และธ.เอกชนในเมืองเจนีวา ที่ทักษิณ ไม่สามารถแจ้งที่มาที่ไป เชื่อว่าขณะ นี้เหลือหน้าตัก US$500 ล้าน เจ๊งจากสาเหตุเศรษฐกิจโลกผันผวนหดเงินต้นทุน

    The Straits Times ของสิงค์โปร์ เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2008 แฉ"ทักษิณ" มีเงินในต่างประเทศไม่เกิน 500 ล้าน ดอลลาร์สหรัฐฯ ลดจากที่เชื่อกันว่าเคยมีถึง US$2 billion เนื่องจากขาดทุนตลาดหุ้นทั่วโลกและราคาน้ำมันลง ตลอดจนจาก การลงทุนด้านอสังหาริมทรัพย์ในตะวันออกกลาง นอกจากนั้นยังถูกรัฐบาลอังกฤษอายัดทรัพย์สินเอาไว้จำนวนมาก

    รายงานข่าวต่างประเทศ อ้างนักการเงินที่ไม่ระบุนามกล่าวว่า ทรัพย์สินของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร มีมูลค่าไม่เกิน 500 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ นอกจากนั้นศักยภาพของ พ.ต.ท.ทักษิณในการดำเนินการกู้หนี้ยืมสิน ก็กำลังถดถอยลงอย่างรวดเร็วใน ระดับวันต่อวันทีเดียว "ดังนั้น พูดโดยสรุปแล้ว มูลค่าสุทธิของเขาจึงได้ลดฮวบลงจากตัวเลขระดับ 5,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ เหลือมูลค่าปัจจุบันที่ 500 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ"

    รายงานกล่าวต่อไปว่า รัฐบาลอังกฤษได้อายัดทรัพย์สินจำนวนประมาณ 4,200 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ หลังจากที่ได้สั่ง เพิกถอนวีซ่าเข้าประเทศ ทักษิณ ชินวัตร และคุณหญิงพจมาน ชินวัตร ในเดือนพฤศจิกายนที่ผ่านมา

    ก่อนหน้านี้ เว็บไซต์วารสารทางธุรกิจของอาหรับ www.arabianbusiness.com ก็เตยรายงานว่า ทางการอังกฤษได้ อายัดทรัพย์สินของ พ.ต.ท.ทักษิณเอาไว้ราว 4,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ และจากความสูญเสียเช่นนี้เอง บังคับให้อดีตนายก รัฐมนตรีผู้กำลังหลบหนีเงื้อมมือกฎหมายไทย ต้องยอมขายสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตี้ ให้แก่ ชีก มานซัวร์ แห่งอาบูดาบี และจนถึงขณะนี้ยังไม่มีใครออกมายืนยันหรือปฏิเสธรายงานของอาราเบียนบิสซิเนสนี้เลย

    ตามปกติแล้ว เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบของอังกฤษจะให้เวลา 6 เดือนแก่"เจ้าของผู้ได้รับผลประโยชน์" ของทรัพย์สินที่ ถูกอายัด ในการเข้ามาประกาศอ้างตนเป็นเจ้าของทรัพย์สิน และหากเจ้าหน้าที่พอใจหลักฐานที่นำมาอ้างอิงยืนยัน ก็จะคืน ทรัพย์สินเหล่านั้นให้แก่เจ้าของผู้ได้รับผลประโยชน์ไป

    แต่ปัญหาที่แท้จริงของ พ.ต.ท.ทักษิณอยู่ตรงที่การพิสูจน์ให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบเกิดความมั่นใจ เชื่อถือเรื่องที่มา ของเงินทองทั้งในอังกฤษและในสวิตเซอร์แลนด์เหล่านี้ โดยหากไม่สามารถพิสูจน์เรื่องนี้ให้กระจ่างได้ ทรัพย์สินเหล่านี้มีหวัง จะถูกอายัดไปอีกอย่างน้อยระยะหนึ่ง

    The Straits Times รายงานต่อไปว่า "ในขณะนี้สถานการณ์ค่อนข้างยุ่งยากซับซ้อนสำหรับทักษิณ เพราะทรัพย์สินที่ ถูกอายัดไว้ทั้งหมดต่างก็อยู่ในชื่อนอมินีต่างๆ เขามีการใช้บริษัทออฟชอร์ 20 ถึง 25 แห่งทีเดียวสำหรับการทำธุรกรรมทาง การเงิน รวมทั้งที่ทำผ่านธนาคารใหญ่ของสวิส 2 แห่ง และธนาคารนอกตลาดหุ้นอีก 3 แห่งในนครเจนีวา" เดอะเนชั่นอ้าง คำพูดของผู้จัดการด้านเงินตราระหว่างประเทศรายหนึ่ง ที่ได้ติดตามข้อตกลงซื้อขายสโมสรแมนเชสเตอร์ซิตี้อย่างใกล้ชิด

    ผู้จัดการด้านเงินตราระหว่างประเทศรายนี้กล่าวต่อไปว่า เงินทองของทักษิณที่ถูกอังกฤษอายัดไว้นี้ หลายๆ ส่วนยัง เป็นเงินกู้มาร์จินที่พวกธนาคารสวิสปล่อยมาให้ และเวลานี้แบงก์เหล่านี้ก็กำลังพยายามหาทางสะสางปัญหาทางกฎหมาย เพื่อเรียกเงินเหล่านี้คืนไป

    ส่วนทรัพย์สินอื่นๆ นอกจากนี้ พ.ต.ท.ทักษิณได้มีการนำไปลงทุนในการซื้อขายตราสารทางด้านน้ำมัน ข้าว และทอง, ในโครงการก่อสร้างคอนโดใหม่ๆที่ดูไบ, และในการลงทุนหลักทรัพย์อื่นๆ โดยที่สัญญาฟิวเจอรสด้านน้ำมัน ข้าว และทอง ของเขา เมื่อคิดตามราคาหน้าตั๋วจะมีมูลค่ามากกว่า 450 ล้านดอลลาร์ ทรัพย์สินส่วนนี้เวลานี้ถือว่ามีความเสี่ยงที่จะเจ๊ง เพราะ สภาพตลาดมีการเปลี่ยนแปลงกลับตาลปัตรไปหมดแล้ว

    "นอกจากนั้น ผมยังได้รับการบอกเล่าจากคนของ อัดนัน คาชอกกี ในดูไบ และ อาบูดาบี ว่า การลงทุนก้อนมหึมาใน โครงการก่อสร้างคอนโดใหม่ๆ ในแถบอ่าวเปอร์เซีย ก็มีความเสี่ยงที่จะสูญเสีย เนื่องจากมีส่วนที่เป็นการกู้เงินธนาคารมาด้วย รวมทั้งหมดแล้วอยู่ในจำนวนที่สูงกว่า 1,200 ล้านดอลลาร์ ถึงแม้หากมีการสูญเสียเกิดขึ้นจริงๆ ก็อาจจะอยู่ในราวประมาณ 250-300 ล้านดอลลาร์" เดอะเนชั่นอ้างคำกล่าวของนักการเงินระหว่างประเทศผู้นี้

    ทรัพย์สินอีก 550 ล้านดอลลาร์ที่เชื่อกันว่าเป็นของ พ.ต.ท.ทักษิณนั้น เวลานี้อยู่ในการบริหารจัดการของธนาคารใหญ่ ของสวิส 2 แห่ง และแบงก์นอกตลาดหุ้นอีก 3 แห่งในเจนีวา โดยที่มีรายงานว่าผลประกอบการย่ำแย่มาก แหล่งข่าวที่เป็น นักการเงินระหว่างประเทศคนนี้บอกกับเดอะเนชั่นว่า ถ้าหากเกิดไม่ได้มีการซื้อประกันความเสี่ยงอย่างเหมาะสมแล้ว มูลค่า ของพอร์ตการลงทุนเหล่านี้ก็จะหดหายไปเยอะทีเดียว
  • "ผมเชื่อว่าเวลานี้ทักษิณเหลือเงินอยู่เพียง 500 ล้านดอลลาร์ ดังนั้น ทรัพย์สินที่มีอยู่ในประเทศไทย (ซึ่งถูกทางการ อายัดไว้รวม 76,000 ล้านบาท) ขณะนี้จึงความสำคัญอย่างยิ่งสำหรับเขา การกลับเมืองไทยของคุณหญิงพจมาน ที่สำคัญ ที่สุดเลยคือมุ่งที่จะปกป้องทรัพย์สินชิ้นสุดท้ายของพวกเขานี่เอง ทักษิณยังกำลังชั่งใจด้วยซ้ำถึงความเป็นไปได้ที่จะเดินทาง กลับประเทศไทยด้วยตัวเอง เพื่อเรียกร้องขอคืนทรัพย์สินในไทยนี้ ซึ่งกลายเป็นเรื่องสำคัญยิ่งยวดสำหรับเขาไปเสียแล้ว" รายงานของเดอะเนชั่นอ้างคำพูดของแหล่งข่าวรายเดียวกันนี้

    ในส่วนของวิธีการยักย้ายโอนเงินเข้าไปในอังกฤษของ พ.ต.ท.ทักษิณนั้น รายงานข่าวของเดอะเนชั่นบอกว่า มีนักธุรกิจ ไทยที่รู้จักกันในชื่อว่า "Phairoj P" ทำหน้าที่เป็นตัวแทนของอดีตนายกฯไทยในการกระทำการอันน่าสงสัยเหล่านี้

    "Phairoj เป็นตัวแทนในการช่วยเหลือให้ทักษิณได้ครอบครองสโมสรฟุตบอล(แมนเชสเตอร์ซิตี้) เมื่อมีเงินเพียง 10,000 ปอนด์ (508,000 บาท)ถูกโยนเข้าไปในบัญชีธนาคารของ Phairoj เจ้าหน้าที่รับผิดชอบของอังกฤษจึงถามเขาว่า เงินที่ใช้ซื้อสโมสรนั้นเอามาจากไหน ปรากฏว่าเขาไม่สามารถให้คำตอบที่น่าพอใจได้ นั่นจึงทำให้ทางเจ้าหน้าที่อังกฤษสั่ง อายัดทรัพย์สินเพิ่มขึ้นเป็นชุดเลย ตัว Phairoj เองเวลานี้ก็กำลังประสบปัญหายุ่งยากกับเจ้าหน้าที่รับผิดชอบของอังกฤษ" เดอะเนชั่นอ้างแหล่งข่าวที่เป็นนายธนาคารท้องถิ่นผู้หนึ่ง

    รายงานของหนังสือพิมพ์นี้กล่าวว่า เจ้าหน้าที่รับผิดชอบของอังกฤษเริ่มให้ความสนใจกับกรณีของทักษิณ เมื่อมีการ ประกาศข่าวเรื่องเขาเข้าซื้อสโมสรฟุตบอลแมสเชสเตอร์ซิตี้ในปี 2550 เนื่องจาก พ.ต.ท.ทักษิณมาจากประเทศไทยและ หลบภัยอยู่ในลอนดอนหลังถูกทำรัฐประหารโค่นอำนาจ เงินทองที่ถูกโอนย้ายเข้ามาในอังกฤษจึงควรที่จะมาจากพวกธนาคาร ไทยหรือบริษัทไทย แต่เจ้าหน้าที่รับผิดชอบของอังกฤษกลับพบว่าเงินทองของทักษิณ หรือที่จริงแล้วทั้งหมดเป็นเงินทองที่ อยู่ในชื่อนอมินีอื่นๆ กลับมาจากพวกบริษัทออฟชอร์ ซี่งตั้งอยู่ในสถานที่อย่างเช่น เกิร์นซีย์ และ ไอส์ ออฟ แมน และมาจาก พวกธนาคารสวิสโดยตรง

    The Straits Times รายงานต่อไปว่า เมื่อก่อนนั้น ทักษิณ มีเงินอยู่ในต่างประเทศมากกว่าเงิน 76 พันล้านบาทที่ถูก อายัดไว้ในประเทศไทย เขา (ทักษิณ) ไม่จำเป็นที่จะเอาเงินจำนวนนี้คืนมา แต่ปัจจุบันนี้เงินของทักษิณในต่างประเทศได้ ขาดทุนไปกับเศรษฐกิจที่ผันผวนของโลก และอาจจะขาดทุนเพิ่มมากขึ้นอีก ทำให้เขา(ทักษิณ)พยายามที่จะดำเนินการเพื่อ เอาเงินที่ถูกอายัดในประเทศไทยคืนมา แต่ก็เป็นารยากที่จะทำได้
  • ขอแจมกับน้าผีตัวบนหน่อยครับ



    อังกฤษอายัดเงินทักษิณไว้ จนบัดนี้ ทักษิณและบริวารพี่น้อง ลูก เมีย เงียบเป็นเป่าสาก ไม่เอ่ยถึง เพราะอะไรหรือ? มันย่อมมีเหตุผลมากพอที่ประเทศที่เป็นประชาธิปไตยอย่างอังกฤษทำอย่างนั้น มากจนทักษิณกับบริวารไม่กล้าเอ่ยถึง ไม่กล้าต่อกร เพราะกลัวความชั่วจะเปิดเผยมากกว่าที่เป็นอยู่
    ตอนพลเอกสนธิ ปฏิวัติ หนังสือพิมพ์ท้องถิ่นของสวิสเซอร์แลนด์ลงข่าว ทั้งลงรูปทักษิณ เหมาลำเครื่องบินขนกระเป๋ามากมายเต็มลำ คาดว่าจะเป็นทั้งเงินสด ทอง เพ็ชรนิลจินดามากมายมหาศาลบินไปเก็บไว้ที่นิวซึแลนด์ และประเทศอื่นๆอีกมากมาย ทำไมทักษิณไม่พูด ทำไมนักข่าวไทย หรือคนไทยไม่หาหลักฐานมาตีแผ่ ปล่อยให้ทักษิณมันโกหก คนไทย จูงจมูก วันต่อวันอยู่ได้ น่าอายชาวโลกเขาจะว่า เราคนไทยโง่ รัฐบาลโง่ ปล่อยให้ทักษิณ กับพวกมาเฟีย เสื้อแดงสำรากความชั่ว ต่ำทราม รกแผ่นดินอยู่ได้

    ถึงตอนนี้อยากจะให้ทักษิณ ชายจืด ลูกเมีย ของคุณทักษิณ และพวกหน้าโง่ แต่ชั่ว โง่แต่โกง อันธพาลรกโลกอย่างพวกแกนนำเสื้อแดง ทั้งหลายได้เข้ามาอ่าน ชาวโลกที่เขามีอารยะแล้ว ไม่ว่าจะเป็น สวิส ฝรั่งเศส เยอรมัน อังกฤษ ฯลฯ เขารู้ทั้งนั้นว่าทักษิณ มันคือนักการเมืองกระจอกๆ เห็นเงินแล้วโลภ ไม่มีอุดมการณ์ ขี้โกง ไม่มีจิตสารณะ เป็นภัยต่อความมั่นคงและเพื่อนมนุษย์อย่างร้ายแรง หรือใครจะเถียง ทักษิณ พี่น้อง ลูกเมีย แกนนำ ก็คงหลอกได้แต่พี่น้อง เสื้อแดง ฝรั่งสวิสพูดกันว่า ทักษิณ ซื้อได้แต่คนภาคเหนือ ภาคอีสาน ที่ขาดความรู้ รับข้อมูลข่าวสารจากพวก ส.ส. ที่หิวเงิน ตะกละ ขายตัว ขายจิตวิญญาณ ให้ข้อมูลบิดเบือน โกหก หลอกลวง แต่คนที่มีความรู้ มีการศึกษา มีความซื่อสัตย์ มีความนับถือในตัวเองมีศักดิ์ศรีในความเป็น มนุษย์ นั้นทักษิณจะไม่มีวันซื้อได้เลย ซึ่งก็มีอยู่มากมายทั่วทุกหัวระแหงของไทย อย่างข้าฯ และพี่น้องพันธมิตรทั่วประเทศเป็นต้น( ข้าฯ ไม่ใช่ เหลืองหรือแดง แต่เป็นคนไทยที่มีปัญญา รู้และวิเคราะห์ได้ว่าใครดี ใครเลว )
    อ้อ อยากบอก คุณทักษิณ และบริวาร ว่าหนังสือพิมพ์ที่ลงข่าวคุณขนเงิน หนีไปฝากไว้นิวซีแลนด์ และประเทศอื่นของสวิสนั้น ชื่อว่า " 20 minuten " ทักษิณและพวกบริวาร ทนายความส่วนตัวซึ่งมีเป็นฝูงๆๆๆ อยากจะฟ้อง นักข่าวสวิสไหมล่ะ?
    ทำไม? ฝรั่งสวิส ทั้่งประเทศเท่าที่ฟังๆเขาพูดเขารู้หมดว่าทักษิณโกง ถ้าไม่โกง จะมีปัญาหาเงินมาจากไหนมากมายมหาศาลขนาดนั้น และเขารู้ว่า76000 นั้นจิ๊บจ๊อยเศษเงินเพราะทักษิณและครอบครัวมีอีกอื้อซ่า บ๊ะล๊ะฮึ่มฝังอยู่ในประเทศต่างๆ ทั่วโลก
    แต่ทำไม คนไทย รัฐบาลไทย นักข่าว ตำรวจ อัยการ นักหนังสือพิมพ์ นักวิชาการไทยไม่รู้???????????????????? ว่าทักษิณ โกง รัฐบาล และคนไทยต้องทบทวนตัวเองให้มากๆ ๆๆๆๆ โดยเฉพาะสื่อมวลชน ก็เพราะเป็นอย่างนี้มันถึงมี ทักษิณ ไอ้ห้อย ไอ้โหน หรือไอ้นักการเมืองกระสือเข้ามากอบโกยกินอยู่อย่างมูมมาม ตะกละ ตะกลาม ขัดขวางความเจริญของประเทศ และเป็นอันตรายต่อความมั่นคงของประเทศ อันตรายต่อมนุษย์เป็นอย่างยิ่ง
    อยากให้คนไทยช่วยกันคิด ขจัดคนโกง ซึ่งเป็นอันตรายต่อประเทศชาติ และประชาชนอย่างใหญ่หลวง ถ้าไม่มีนักการเมืองเลวๆ ขี้โกง ละโมภ โลภมาก อย่าง ทักษิณ ไอ้ห้อย ไอ้โหน และกลุ่มนักการเมือง เก่าๆ ที่ผูกขาดสัมปทานตำแหน่ง ส.ส. กันทั้งตระกูล อย่างพวก บรรหาร เสนาะ สนั่น สุดารัตน์ ฯลฯ พวกนี้ประเทศไทยจะสูงขึ้น และจะเจริญขึ้นทันตาเห็น " การคอรัปชั่น ของข้าราชการและนักการเมือง เป็นอตรายอย่างใหญ่หลวง ต่อประเทศชาติ และประชาชน " มากกว่าความชั่วทั้งหมดที่มีอยู่ขัดขวางการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ และขัดขวางความเจริญในทุกรูปแบบ
  • ถึง ...... นักโทษหนีคุก วันตัดสินยึดทรัพย์ 76,000 ล้านบาท

    ตามที่ ฯพณฯ ท่านอดีตนายกรัฐมนตรี ซึ่งปัจจุบันมีสถานะเป็น ?นักโทษหนีคุก? เพราะศาลตัดสินจำคุก 2 ปี และศาลจะตัดสินยึดทรัพย์ 76,000 ล้านบาท ในวันที่ 26 กุมภาพันธ์ ศกนี้นั้น จากการทวิตเตอร์ของท่านนักโทษหนีคุก เรียกร้องความยุติธรรม โหยหาความยุติธรรม เหมือนกับคนที่จะสิ้นใจตายในขณะนี้ ถ้าไม่ได้รับความยุติธรราตามที่ตัวเองต้องการ

    และเป็นที่ทราบกันดีว่านักโทษหนีคุก จาบจ้วงล้วงเกินดูหมิ่นศาลสถิตยุติธรรมมาโดยตลอด แม้กระทั้งให้สหายสนิทสมเด็จละแวกฮุนเซนช่วยดูหมิ่นศาลไทยอีกแรงหนึ่งด้วยนั้น แต่ในขณะเดียวกันนักโทษหนีคุกยังคงใช้บริการศาลเพื่อให้ดำเนินคดีกับบุคคลอื่นอย่างต่อเนื่อง แม้กระทั้งคดียึดทรัพย์ ระหว่างการไต่สวนสืบหาข้อเท็จจริง นักโทษหนีคุก ได้ใช้สิทธิ์ต่อสู้อย่างเต็มที่โดยส่งทนายและเอกสารเพื่อประกอบการไต่สวนกับศาลถึง 24 นัด (ครั้ง) ด้วยกัน ซึ่งศาลไทยได้เมตตาให้นักโทษหนีคุกใช้สิทธิเพื่อแสดงหลักฐานได้อย่างเต็มที่ นี้คือขบวนการยุติธรรมของศาลที่นักโทษหนีคุกต้องการมิใช่หรือ

    แต่เพราะเหตุใด เมื่อพยายามต่อสู้ผ่านขบวนการศาลอย่างเต็มที่เช่นเดียวกับบุคคลอื่น ๆ ที่ถูกฟ้องร้องดำเนินคดี เมื่อศาลตัดสินในทางที่ตัวเองต้องรับโทษ จึงไม่ยอมรับขบวนการตัดสินของศาลสถิตยุติธรรมเช่นเดียวกับบุคคลอื่น ๆ

    ก่อนที่จะเรียกร้องความยุติธรรมกับผู้อื่น นักโทษหนีคุกต้องมีความยุติธรรมให้แก่บุคคลอื่นด้วย มิใช่ถ้าศาลติดสินถูกใจก็บอกว่าศาลดีมีความยุติธรรม แต่ถ้าศาลตัดสินไม่ถูกใจก็กล่าวหาศาลไม่ยุติธรรม ซึ่งเป็นการกระทำแบบสองมาตรฐาน เป็นพฤติกรรมลักษณะเอาดีใส่ตัว เอาชั่วให้คนอื่น หรือเป็นคนเอาแต่ได้ฝ่ายเดียว โดยไม่คำนึงถึงความยุติธรรมที่คนอื่นก็มีสิทธิที่จะได้เช่นเดียวกันกับที่นักโทษหนีคุก เรียกร้องความยุติธรรม

    การที่นักโทษหนีคุก ข่มขู่ศาล ข่มขู่คนไทยทั้งประเทศ ?ถูกยึดทรัพย์เละ? ซึ่งเป็นลักษณะขี้แพ้ชวนตี จึงขอถามว่านักโทษหนีคุก จะใช้ความอาฆาตแค้นส่วนตัวทำร้ายทำลายประเทศไทย และคนไทยทั้งประเทศ เพื่อสนองตัณหาความอาฆาตแค้นของท่านนักโทษหนีคุกเพียงคนเดียว ทั้ง ๆ ที่ประเทศชาติและประชาชนคนไทยทั้งประเทศไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการกระทำผิดของนักโทษหนีคุก และมิได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับคดียึดทรัพย์ของนักโทษหนีคุกแต่ประการใด ดังพุทธภาษิต ?กรรมใดใครก่อ บุคคลนั้นย่อมรับกรรม? ตามกฏแห่งกรรมที่เที่ยงแท้แน่นอน

    การกระทำของนักโทษหนีคุกดังกล่าวเป็นการยุติธรรมกับประเทศชาติและคนไทยทั้งประเทศ เช่นนั้นหรือ เมื่อนักโทษหนีคุก เรียกร้องหาความยุติธรรม เพื่อปกป้องรักทรัพย์ที่ได้มาจากโกงชาติ โกงแผ่นดิน ถ้าคนไทยทั้งประเทศจะเรียกร้องความยุติธรรมจากนักโทษหนีคุก โดยให้นำเอาทรัพย์สินทั้งหมดที่นักโทษหนีคุกโกงชาติ โกงแผ่นดิน ด้วยการนำไปซุกซ่อนอยู่ในที่ต่าง ๆ ซึ่งประมาณกันว่าหลายแสนล้านบาทนั้น โดยขอให้นำมาคืนให้กับประเทศและคนไทยทั้งประเทศ นักโทษหนีคุกจะยินยอมหรือไม่ เพื่อทำให้ความยุติธรรมไม่เป็นสองมาตรฐาน มิใช่นักโทษหนีคุกเรียกร้องความยุติธรรมแต่เพียงฝ่ายเดียว แต่พาลเกเรที่จะเอาประเทศชาติและประชาชนคนไทยทั้งประเทศเป็นตัวประกัน

    นับแต่นี้ไป คนไทยทั้งประเทศต้องการความยุติธรรมจากคนโกงชาติ โกงแผ่นดินเช่นกัน อย่าดูหมิ่นดูแคลนข่มขู่ประเทศชาติและประชาชนจนกระทั้งจนตรอก เมื่อถึงเวลา...คนไทยทั้งประเทศก็พร้อมที่จะผดุงความยุติธรรม เรียกร้องความยุติธรรมให้กับประเทศชาติจากนักโทษหนีคุกเช่นกัน อย่าคิดว่าจะทำร้ายทำลายประเทศชาติและคนไทยทั้งประเทศ ?เละ? ได้แต่เพียงฝ่ายเดียว

    ประชาชน
    26 กุมภาพันธ์ 2553
  • อะไรที่ตีแผ่ความชั่วของมัน มันก็บอกสองมาตรฐาน
  • พอน้ำลด ตอก็ผุด
  • ควยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยย
  • คำพิพากษาศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง วันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2553

    คดีระหว่างอัยการสูงสุด ผู้ร้อง พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ผู้ถูกกล่าวหา คุณหญิงพจมาน ชินวัตร กับพวก รวม 22 คน ผู้คัดค้าน เรื่อง ขอให้ทรัพย์สินตกเป็นของแผ่นดิน

    ผู้ร้องยื่นคำร้องและแก้ไขคำร้องว่า ผู้ถูกกล่าวหาดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี 2 สมัยติดต่อกัน สมัยแรกตั้งแต่วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2544 และสมัยที่ 2 ตั้งแต่วันที่ 9 มีนาคม 2548 เป็นต้นไป ในฐานะหัวหน้ารัฐบาลซึ่งเป็นผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง และเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.2542 และเป็นเจ้าพนักงานตามกฎหมาย มีอำนาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 มาตรา 11 และมีอำนาจหน้าที่กำหนดและกำกับนโยบายสูงสุดในการบริหารราชการแผ่นดิน ตามแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ และนโยบายของคณะรัฐมนตรีที่แถลงต่อรัฐสภา ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 มาตรา 88, 211 และ 212 ในฐานะหัวหน้าฝ่ายบริหารมีอำนาจหน้าที่กำกับดูแลและบังคับบัญชาให้เจ้าหน้าที่ของรัฐทุกประเภทในฝ่ายบริหาร ตระเตรียมและปฏิบัติการให้เป็นไปตามนโยบายที่ฝ่ายบริหารกำหนด

    ส่วนบริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด หรือเรียกโดยย่อว่าบริษัทชินคอร์ป เดิมจดทะเบียนนิติบุคคล ใช้ชื่อว่าบริษัท ชินวัตร คอมพิวเตอร์ แอนด์ อินเวสต์เมนต์ จำกัด เปลี่ยนชื่อเป็นบริษัท ชินวัตร คอมพิวเตอร์ จำกัด และบริษัท ชินวัตร คอมพิวเตอร์ แอนด์ คอมมูนิเคชั่น จำกัด ตามลำดับ ต่อมาจดทะเบียนแปรสภาพเป็นบริษัทมหาชน และเปลี่ยนชื่อครั้งสุดท้ายเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2544 ปัจจุบันมีทุนจดทะเบียน 5 พันล้านบาท เป็นหุ้นสามัญจำนวน 5 พันล้านหุ้น ราคาพาร์หุ้นละ 1 บาท เป็นบริษัทได้รับสัมปทานโครงการดาวเทียมจากรัฐโดยตรง ตามสัญญาดำเนินกิจการดาวเทียมสื่อสารภายในประเทศ ฉบับลงวันที่ 11 กันยายน 2534 และยังเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ในบริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) หรือที่เรียกโดยย่อว่า บริษัท เอไอเอส ซึ่งเป็นผู้รับสัญญาสัมปทานจากรัฐ ตามสัญญาอนุญาตให้ดำเนินกิจการบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ ฉบับลงวันที่ 27 มีนาคม 2533 จากองค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย หรือบริษัท ทศท คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) หรือบริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) หรือที่เรียกโดยย่อว่า ทศท

    นอกจากนี้ บริษัท เอไอเอส ยังเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่จำนวนกว่าร้อยละ 90 ในบริษัท ดิจิตอลโฟน จำกัด หรือที่เรียกโดยย่อว่า บริษัท ดีพีซี ซึ่งเป็นผู้รับสัมปทานดำเนินกิจการโทรศัพท์เคลื่อนที่จากการสื่อสารแห่งประเทศไทย ปัจจุบันแปรสภาพและเปลี่ยนชื่อเป็นบริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) หรือที่เรียกโดยย่อว่า กสท และบริษัทชินคอร์ป ซึ่งเป็นผู้รับสัญญาสัมปทานจากรัฐตามสัญญาแก้ไขเพิ่มเติม สัญญาดำเนินกิจการดาวเทียมสื่อสารภายในประเทศ ฉบับที่ 1 ลงวันที่ 23 มีนาคม 2535 ยังเป็นผู้ถือหุ้นในบริษัท ชินแซทเทลไลท์ จำกัด (มหาชน) หรือบริษัท ไทยคม จำกัด (มหาชน) หรือเรียกโดยย่อว่าบริษัท ไทยคม โดยบริษัทไทยคม ร่วมลงนามเป็นคู่สัญญาด้วย บริษัท ชินคอร์ป ประกอบธุรกิจโดยเข้าไปถือหุ้นในบริษัทในเครือที่ดำเนินธุรกิจในด้านต่างๆ ได้แก่ สายธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคมไร้สาย สายธุรกิจสื่อสารดาวเทียม และธุรกิจต่างประเทศ สายธุรกิจสื่อและโฆษณา สายธุรกิจอี-บิซิเนส และอื่นๆ

    ผู้ถูกกล่าวหาขณะดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ยังคงไว้ซึ่งหุ้นบริษัท ชินคอร์ป และบริษัทที่รับสัมปทานจากรัฐ อันเป็นการกระทำที่เป็นการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนบุคคลและประโยชน์ส่วนรวม โดยเมื่อวันที่ 10 เมษายน 2541 ผู้ถูกกล่าวหาถือหุ้นบริษัท ชินคอร์ป จำนวน 32,920,000 หุ้น ผู้คัดค้านที่ 1 ซึ่งเป็นคู่สมรสของผู้ถูกกล่าวหา ถือหุ้นจำนวน 34,650,000 หุ้น และผู้คัดค้านที่ 5 ซึ่งเป็นพี่ชายของผู้คัดค้านที่ 1 ถือหุ้นจำนวน 6,847,395 หุ้น รวม 74,417,395 หุ้น

    ในปี 2542 บริษัท ชินคอร์ป มีการเพิ่มทุนในราคาหุ้นละ 15 บาท ผู้คัดค้านที่ 1 ได้ถอนเงินจากบัญชีเงินฝากของตน ซื้อเช็คธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) สาขารัชโยธิน ลงวันที่ 16 มีนาคม 2542 จำนวน 3 ฉบับ ชำระค่าจองซื้อหุ้นเพิ่มทุนในนามตนเอง 34,650,000 หุ้น เป็นเงิน 519,750,000 บาท ในนามผู้ถูกกล่าวหา จำนวน 32,920,000 หุ้น เป็นเงิน 493,800,000 บาท และในนามผู้คัดค้านที่ 5 จำนวน 6,809,015 หุ้น เป็นเงิน 102,135,225 บาท ดังนั้นในวันที่ 12 เมษายน 2542 ผู้ถูกกล่าวหาถือหุ้นบริษัท ชินคอร์ป จำนวน 65,840,000 หุ้น ผู้คัดค้านที่ 1 ถือหุ้นจำนวน 69,300,000 หุ้น รวมเป็นจำนวนหุ้นทั้งสิ้น 135,140,000 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 48.75 ของจำนวนหุ้นทั้งหมด
  • ต่อมาผู้ถูกกล่าวหาและผู้คัดค้านที่ 1 โอนหุ้นของบริษัท ชินคอร์ป ให้บุคคลต่างๆ ถือแทน ดังนี้ วันที่ 11 มิถุนายน 2542 ผู้ถูกกล่าวหาโอนหุ้นจำนวน 32,920,000 หุ้น ให้แก่บริษัท แอมเพิลริช อินเวสต์เมนต์ จำกัด หรือที่เรียกโดยย่อว่าบริษัท แอมเพิลริช วันที่ 1 กันยายน 2543 ผู้ถูกกล่าวหาโอนหุ้นให้แก่ผู้คัดค้านที่ 2 ซึ่งเป็นบุตรชาย จำนวน 30,920,000 หุ้น และโอนหุ้นให้แก่ผู้คัดค้านที่ 4 ซึ่งเป็นน้องสาว จำนวน 2 ล้านหุ้น ส่วนผู้คัดค้านที่ 1 โอนหุ้นให้แก่ผู้คัดค้านที่ 2 จำนวน 42,475,000 หุ้น และโอนหุ้นให้แก่ผู้คัดค้านที่ 5 จำนวน 26,825,000 หุ้น ซึ่งเมื่อรวมกับการซื้อหุ้นเพิ่มทุนเมื่อปี 2542 ผู้คัดค้านที่ 5 ถือหุ้น 33,634,150 หุ้น โดยผู้ถูกกล่าวหาและผู้คัดค้านที่ 1 ยังคงเป็นเจ้าของหุ้นที่แท้จริง

    ต่อมาวันที่ 24 สิงหาคม 2544 บริษัท ชินคอร์ป จดทะเบียนลดมูลค่าหุ้นจากที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท เหลือหุ้นละ 1 บาท ทำให้จำนวนหุ้นเพิ่มขึ้นเป็น 10 เท่า

    เมื่อปี 2542 ผู้คัดค้านที่ 5 ถือหุ้น 33,634,150 หุ้น โดยผู้ถูกกล่าวหา และผู้คัดค้านที่ 1 ยังคงเป็นเจ้าของหุ้นที่แท้จริง

    ต่อมาวันที่ 24 สิงหาคม 2544 บริษัท ชินคอร์ป จดทะเบียนลดมูลค่าหุ้น จากที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท เหลือหุ้นละ 1 บาท ทำให้จำนวนหุ้นเพิ่มขึ้นเป็น 10 เท่า เมื่อวันที่ 9 กันยายน 2545 และวันที่ 17 พฤษภาคม 2546 ผู้คัดค้านที่ 2 โอนหุ้นให้แก่ผู้คัดค้านที่ 3 ซึ่งเป็นบุตรสาวของผู้ถูกกล่าวหา ถือแทน จำนวน 440 ล้านหุ้น คงเหลือหุ้นที่ถือแทนในนามของผู้คัดค้านที่ 2 จำนวน 293,950,000 หุ้น ผู้คัดค้านที่ 5 ถือหุ้นแทนจำนวน 336,340,150 หุ้น ผู้คัดค้านที่ 4 จำนวน 20 ล้านหุ้น และบริษัท แอมเพิลริช จำนวน 329,200,000 หุ้น ต่อมาวันที่ 20 มกราคม 2549 บริษัท แอมเพิลริช ได้โอนหุ้นดังกล่าวให้แก่ผู้คัดค้านที่ 2 จำนวน 164,600,000 หุ้น และผู้คัดค้านที่ 3 จำนวน 164,600,000 หุ้น รวมหุ้นบริษัท ชินคอร์ป ที่ผู้ถูกกล่าวหาและผู้คัดค้านที่ 1 ให้บุคคลต่างๆ ดังกล่าวถือหุ้นแทนทั้งหมด มีจำนวน 1,419,490,150 หุ้น คิดเป็นจำนวนกว่าร้อยละ 48 ของจำนวนหุ้นบริษัท ชินคอร์ป ทั้งหมดที่จำหน่ายได้

    นอกจากนี้ ผู้ถูกกล่าวหาและผู้คัดค้านที่ 1 ยังคงถือหุ้นบริษัท ชินคอร์ป ในนามบริษัท วินมาร์ค จำกัด อีกด้วย การกระทำของผู้ถูกกล่าวหาดังกล่าว เป็นการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนบุคคลและประโยชน์ส่วนรวม ทั้งในการยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สิน ผู้ถูกกล่าวหาไม่แสดงรายการหุ้นบริษัท ชินคอร์ป ดังกล่าวของตนและคู่สมรส ต่อคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ หรือที่เรียกโดยย่อว่า คณะกรรมการ ป.ป.ช. อันเป็นการฝ่าฝืนต่อบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 มาตรา 110, 208, 209, 291 และ 292 พ.ร.บ.การจัดการหุ้นส่วนและหุ้นของรัฐมนตรี พ.ศ.2543 มาตรา 4, 5 และ 6 และ พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.2542 มาตรา 32, 33, 100, 119 และ 122

    ต่อมาเมื่อวันที่ 23 มกราคม 2549 ผู้ถูกกล่าวหารวบรวมหุ้นบริษัท ชินคอร์ป ขายให้แก่กลุ่มเทมาเส็กของประเทศสิงคโปร์ โดยบริษัท ซีดาร์ โฮดิ้ง จำกัด และบริษัท เอสเอ็น โฮดิ้ง จำกัด เป็นเงินสุทธิหลังหักค่าใช้จ่ายรวม 69,722,880,932 บาท 5 สตางค์ และตั้งแต่ปี 2546-2548 บริษัท ชินคอร์ป จ่ายเงินปันผลตามจำนวนหุ้นที่ผู้ถูกกล่าวหาและผู้คัดค้านถืออยู่ เป็นเงิน 6,898,722,129 บาท รวมเป็นเงินที่ได้รับเนื่องจากหุ้นดังกล่าว 76,621,603,061 บาท 5 สตางค์ อันเป็นทรัพย์สินที่ได้มาโดยไม่สมควร สืบเนื่องมาจากการปฏิบัติหน้าที่หรือใช้อำนาจในตำแหน่งหน้าที่ และได้มาเนื่องจากการกระทำที่เป็นการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนบุคคลและประโยชน์ส่วนรวม ในขณะที่ผู้ถูกกล่าวหาดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ทั้งนี้ ผู้ถูกกล่าวหาได้ปฏิบัติหน้าที่และใช้อำนาจในตำแหน่งหน้าที่อันเป็นการเอื้อประโยชน์แก่บริษัท ชินคอร์ป และบริษัทในเครือ รวม 5 กรณี ดังต่อไปนี้
  • 1. กรณีแปลงค่าสัมปทานเป็นภาษีสรรพสามิต ทั้งนี้ เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2545 ผู้ถูกกล่าวหา เริ่มกระบวนการตรากฎหมายแก้ไขพิกัดอัตราภาษีสรรพสามิต จนกระทั่งมีการประกาศใช้ พ.ร.ก.แก้ไขเพิ่มเติม พ.ร.บ.พิกัดอัตราภาษีสรรพสามิต พ.ศ.2527 ฉบับที่ 4 พ.ศ.2546 และ พ.ร.ก.แก้ไขเพิ่มเติม พ.ร.บ.ภาษีสรรพสามิต พ.ศ.2527 พ.ศ.2546 และออกประกาศกระทรวงการคลังเรื่องลดอัตราและยกเว้นภาษีสรรพสามิต ฉบับที่ 68 ลงวันที่ 28 มกราคม 2546 โดยให้ลดพิกัดอัตราและยกเว้นภาษีสรรพสามิตสำหรับกิจการโทรศัพท์เคลื่อนที่ จากอัตราร้อยละ 50 เหลือร้อยละ 10 ตามบัญชีท้ายประกาศ และมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2546 เห็นชอบด้วยกับแนวทางการดำเนินการเพื่อหักค่าภาษีสรรพสามิตออกจากส่วนแบ่งรายได้ที่คู่สัญญาจะต้องนำส่งให้แก่คู่สัญญาภาครัฐ

    นอกจากนี้ ผู้ถูกกล่าวหาได้ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม โดยจัดตั้งกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร นำแนวทางการแปรสัญญาร่วมการงานโดยการแปลงส่วนแบ่งรายได้ให้อยู่ในรูปแบบของภาษีสรรพสามิต โดยไม่มีวัตถุประสงค์ในการจัดเก็บภาษีสรรพสามิตอย่างแท้จริง ทั้งนี้ เป็นการกระทำเพื่อป้องกันไม่ให้คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ หรือเรียกโดยย่อว่า กทช. ซึ่งเป็นองค์กรอิสระ ทำหน้าที่ตามบทบัญญัติของกฎหมาย เพื่อเป็นการเอื้อประโยชน์ให้แก่กิจการของผู้ถูกกล่าวหาและพวกพ้อง อันเป็นการกระทำที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่รัฐ โดยคณะรัฐมนตรีไม่มีอำนาจให้นำภาษีสรรพสามิตดังกล่าวมาหักออกจากค่าสัมปทาน ซึ่งผู้ประกอบการมีภาระต้องชำระค่าสัมปทานให้แก่รัฐ หรือหน่วยงานของรัฐ ตามข้อตกลงในสัญญาสัมปทาน ทำให้รัฐหรือหน่วยงานของรัฐได้รับเงินค่าสัมปทานลดน้อยลงจากข้อตกลงตามสัญญา ทั้งเป็นการบิดเบือนการใช้อำนาจนิติบัญญัติ โดยใช้กฎหมายเพื่อเป็นเครื่องมือในการกีดกันผู้ประกอบการ ในกิจการโทรคมนาคมรายใหม่ เอื้อประโยชน์ให้แก่บริษัท เอไอเอส

    นอกจากนี้ การไม่กำหนดให้มีการจัดเก็บภาษีสรรพสามิตในกิจการดาวเทียม ทั้งๆ ที่เป็นกิจการโทรคมนาคม และเป็นกิจการที่ได้รับสัมปทานจากรัฐเช่นเดียวกับโทรศัพท์พื้นฐาน และโทรศัพท์เคลื่อนที่ ถือว่าเป็นการกระทำที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย และเป็นการใช้อำนาจของผู้ถูกกล่าวหา ในฐานะนายกรัฐมนตรีโดยไม่สุจริต ซึ่งเมื่อนำภาษีสรรพสามิตมาหักจากค่าสัมปทานที่บริษัท เอไอเอส บริษัท ทรูมูฟ จำกัด หรือเรียกโดยย่อว่า บริษัท ทรูมูฟ และบริษัท โทเทิ่ลแอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จำกัด (มหาชน) หรือที่เรียกโดยย่อว่า บริษัท แทค ต้องชำระให้แก่ ทศท และ กสท ในอัตราร้อยละ 10 ทำให้รายได้ของ ทศท และ กสท ลดลง ทั้งผู้ถูกกล่าวหายังเสนอแก้ไขกฎหมายการประกอบกิจการโทรคมนาคม ให้ชาวต่างชาติถือหุ้นในบริษัทประกอบกิจการโทรคมนาคมในสัดส่วนที่สูงขึ้น เพื่อให้ผู้ถูกกล่าวหาสามารถขายหุ้นของตนเองกับพวกพ้องให้แก่ผู้ถือหุ้นชาวต่างชาติได้อีกด้วย
  • 2. กรณีการแก้ไขสัญญาอนุญาตให้ดำเนินกิจการบริการ โทรคมนาคม ในสัดส่วนที่สูงขึ้น เพื่อให้ผู้ถูกกล่าวหาสามารถขายหุ้นของตนเองกับพวกพ้องให้แก่ผู้ถือหุ้นชาวต่างชาติได้อีกด้วย

    2. กรณีการแก้ไขสัญญาอนุญาตให้ดำเนินกิจการบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ ลงวันที่ 27 มีนาคม 2533 ครั้งที่ 6 เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2544 ปรับลดอัตราส่วนแบ่งรายได้ จากการให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่แบบใช้บัตรจ่ายเงินล่วงหน้า หรือพรี-เพด (pre-paid) ให้แก่บริษัทเอไอเอส เดิมเมื่อปี 2542 บริษัท เอไอเอส ได้เริ่มบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่แบบพรีเพด โดยใช้ชื่อในทางการค้าว่า วัน-ทู-คอล โดยคณะกรรมการบริหารงาน หรือเรียกโดยย่อว่า กบง. กำหนดให้บริษัทเอไอเอส จ่ายส่วนแบ่งรายได้ให้ ทศท ตามข้อกำหนดในสัญญาหลักจนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2544 ซึ่งในขณะนั้น บริษัท เอไอเอส ต้องจ่ายส่วนแบ่งรายได้ในอัตรา 25 เปอร์เซ็นต์ และจะต้องจ่ายส่วนแบ่งรายได้ในอัตรา 30 เปอร์เซ็นต์ ในปีสัมปทานที่ 16 คือเดือนตุลาคม 2548 ถึงกันยายน 2549 แต่ในวันที่ 22 มกราคม 2544 บริษัท เอไอเอส มีหนังสือขอให้ ทศท พิจารณาปรับลดอัตราส่วนแบ่งรายได้ในส่วนของโทรศัพท์เคลื่อนที่ แบบพรีเพด

    ต่อมาวันที่ 12 เมษายน 2544 ได้มีการนำเรื่องที่บริษัทเอไอเอส ขอลดอัตราส่วนแบ่งรายได้ดังกล่าวเสนอต่อคณะกรรมการ ทศท และได้มีการลงนามข้อตกลงต่อท้ายสัญญาอนุญาตให้ดำเนินกิจการบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ครั้งที่ 6 เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2544 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน 2544 เป็นต้นไป ส่งผลให้บริษัทเอไอเอส จ่ายส่วนแบ่งรายได้จากการให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่แบบพรีเพด ให้แก่ ทศท ในอัตรา 20 เปอร์เซ็นต์ คงที่ตลอดอายุสัญญาสัมปทาน ตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน 2544 เป็นต้นไป อันเป็นการมิทราบ เพราะการจัดทำข้อตกลงต่อท้ายสัญญครั้งที่ 6 เพื่อปรับลดอัตราส่วนแบ่งรายได้นั้น คณะกรรมการกฤษฎีกาคณะพิเศษได้วินิจฉัยตามบันทึกของสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เรื่องเสร็จที่ 291/2550 แล้ว ว่าสัญญาอนุญาตให้ดำเนินกิจการบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ เป็นสัญญาที่ต้องปฏิบัติตาม พ.ร.บ.ว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมงาน หรือดำเนินการในกิจการของรัฐ พ.ศ.2535 แม้สัญญาดังกล่าวจะได้ดำเนินการไปก่อนที่ พ.ร.บ.ว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมงาน ใช้บังคับ แต่การทำข้อตกลงต่อท้ายสัญญาครั้งที่ 6 ดังกล่าว มิได้เสนอเรื่องการแก้ไขเพิ่มเติมสัญญา ต่อคณะกรรมการประสานงานตามมาตรา 22 พิจารณา และมิได้เสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาเห็นชอบในกรณีที่เป็นการแก้ไขเปลี่ยนแปลงในสาระสำคัญของโครงการแต่อย่างใด ทั้งที่ในขณะนั้น ทศท ได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการประสานงานกำกับดูแลดำเนินงานตามสัญญาอนุญาตให้ดำเนินกิจการบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ ตามคำสั่งคณะกรรมการ ทศท.ที่ 24/2541 ลงวันที่ 30 ตุลาคม 2541 ซึ่งเป็นคณะกรรมการประสานงานตามมาตรา 22 แห่ง พ.ร.บ.ว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมงาน แล้ว และเหตุผลในการขอลดส่วนแบ่งรายได้ของบริษัทเอไอเอส ที่ว่า บริษัท แทค ขอลดค่าเชื่อมโยงเครือข่ายสำหรับการให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่แบบพรีเพด จากเดิมอัตรา 200 บาทต่อเลขหมายต่อเดือน เป็นอัตราร้อยละ 18 ของราคาหน้าบัตรนั้น ฝ่ายบริหารผลประโยชน์ ทศท เห็นว่าเป็นข้ออ้างที่ไม่มีเหตุผล เนื่องจากบริษัท เอไอเอส มิได้เสียค่าใช้จ่ายในส่วนนี้ และบริษัทแทค ยังมีความสามารถด้อยกว่าบริษัทเอไอเอส เนื่องจากมีภาระค่าใช้จ่ายมากกว่าบริษัท เอไอเอส

    เหตุผลที่บริษัท เอไอเอส อ้างต่อ ทศท เพื่อขอให้ ทศท พิจารณาปรับลดอัตราส่วนแบ่งรายได้ดังกล่าว ไม่อาจรับฟังได้ และเป็นการสร้างความได้เปรียบในทางธุรกิจให้แก่บริษัทเอไอเอส ไม่ได้ส่งผลโดยตรงให้มีการลดค่าใช้บริการให้แก่ประชาชน ไม่ใช่ผลโดยตรงที่จะทำให้มีผู้ใช้บริการมากขึ้น และทำให้ ทศท มีรายได้มากขึ้น เป็นการลดที่มากเกินไป หากเปรียบเทียบกับส่วนแบ่งรายได้ในอัตราร้อยละ 30 ตามสัญญาหลัก ซึ่งจะทำให้ ทศท เสียประโยชน์ สูญเสียรายได้ที่ควรได้รับ 14,213,750,000 บาท ปี พ.ศ.2544-2549 และความเสียหายที่เกิดขึ้นในอนาคต 56,658,280,000 บาท ในเดือนตุลาคม 2549 ถึงกันยายน 2559 ส่งผลโดยตรงให้บริษัทเอไอเอส สามารถที่จะทำกำไรมากขึ้น เนื่องจากต้นทุนส่งผลโดยตรงให้บริษัทเอไอเอส สามารถที่จะทำกำไรมากขึ้น เนื่องจากต้นทุนค่าสัมปทานลดลง และสามารถถึงจุดคุ้มทุนได้เร็วกว่าคู่แข่ง จ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นในจำนวนที่มากกว่าคู่แข่งในทางธุรกิจ ส่งผลให้หุ้นของบริษัทเอไอเอส มีราคาสูงขึ้น และเป็นที่น่าสนใจของนักลงทุน เป็นการดำเนินการเอื้อประโยชน์ให้แก่บริษัทเอไอเอส ได้รับประโยชน์แล้ว ตั้งแต่มีการจัดทำข้อตกลงต่อท้ายสัญญาครั้งที่ 6 ถึงเดือนกันยายน 2549 เป็นเงิน 14,000,213,700 เศษ และได้รับประโยชน์ในอนาคตถึงวันสิ้นสุดสัญญาสัมปทานอีก 56,658,280,000 บาท รวมประโยชน์ที่บริษัทเอไอเอส ได้รับจากการจัดทำข้อตกลงท้ายสัญญาครั้งที่ 6 เป็นเงิน 72,300,000,000 ล้านบาท ผู้ถูกกล่าวหามีส่วนเกี่ยวข้องและได้รับประโยชน์จากกรณีดังกล่าว เนื่องจากผู้ถูกกล่าวหาดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในขณะนั้น มีอำนาจหน้าที่บังคับบัญชาหรือกำกับดูแล ทศท ซึ่งเป็นหน่วยงานของรัฐ ตาม พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534

    การเอื้อประโยชน์ให้แก่บริษัทเอไอเอส ที่มีบริษัท ชินคอร์ป เป็นผู้ถือหุ้นอยู่ คิดเป็นร้อยละ 42.90 ทั้งนี้ ผู้ถูกกล่าวหายังคงเป็นผู้ถือหุ้นอยู่ในบริษัท ชินคอร์ป ในระหว่างดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ผลประโยชน์ดังกล่าวจึงตกแก่ผู้ถูกกล่าวหา ทำให้ ทศท สูญเสียรายได้ที่ควรจะได้รับประมาณ 70,872,030,000 บาท
  • 3. กรณีการแก้ไขสัญญาอนุญาตให้ดำเนินกิจการบริการโทรศัพท์ ... 27 มีนาคม 2533 ครั้งที่ 7 ลงวันที่ 20 กันยายน 2545 เพื่ออนุญาตให้ใช้เครือข่ายร่วม และให้หักค่าใช้จ่ายจากรายรับ ... เครือข่าย เป็นการเอื้อประโยชน์แก่บริษัท ชินคอร์ป และบริษัท เอไอเอส แยกได้ 2 กรณี คือ

    กรณีที่ 1 กรณีการแก้ไขสัญญาอนุญาตให้ดำเนินกิจการบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ ครั้งที่ 7 เพื่ออนุญาตให้ใช้เครือข่ายร่วม และให้หักค่าใช้จ่ายจากรายรับ เมื่อวันที่ 27 มีนาคม 2533 บริษัท เอไอเอส เข้าร่วมดำเนินกิจการบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ กับ ทศท มีกำหนดอายุสัญญา 20 ปี โดยบริษัทเอไอเอส จะต้องจ่ายเงินผลประโยชน์ตอบแทนให้ ทศท เป็นรายปี ตามจำนวนเงินผลประโยชน์ตอบแทนขั้นต่ำ หรือในอัตราร้อยละ โดยถือเอาจำนวนเงินที่มากกว่า และจัดทำข้อตกลงต่อท้ายสัญญาหลัก ครั้งที่ 4 ลงวันที่ 20 กันยายน 2539 ขยายระยะเวลาสัญญาเป็น 25 ปี และเมื่อวันที่ 30 มกราคม 2544 บริษัท เอไอเอส มีหนังสือขอเปิดการให้บริการเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ไปให้ผู้อื่นร่วมใช้กับบริษัทดีพีซี ตั้งแต่วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2544 ต่อ ทศท โดยจะนำมาแบ่งผลประโยชน์ให้ ทศท ตามอัตราร้อยละ ในสัญญาหลัก มีหนังสือลงวันที่ 3 กันยายน 2544 ขอเปิดเนชั่นแนลโรมมิ่ง (National Roaming) กับบริษัท เอเซีย พรีชาแนล เซอร์วิส จำกัด ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2544 โดยคิดค่าใช้เครือข่ายร่วมในอัตราพื้นที่เดียวกัน 6 บาทต่อนาที และต่างพื้นที่ 12 บาทต่อนาที โดยจะนำมาแบ่งผลประโยชน์ให้ ทศท ตามอัตราในสัญญาหลัก และมีหนังสือลงวันที่ 21 สิงหาคม 2545 เสนอหลักการการใช้เครือข่ายร่วมกัน ทั้งกรณีที่ผู้ให้บริการรายอื่นมาใช้เครือข่ายของบริษัทเอไอเอส และบริษัทเอไอเอสไปใช้เครือข่ายของผู้ให้บริการรายอื่น โดยขอหักค่าใช้จ่ายจากการใช้เครือข่ายร่วมออกจากรายรับก่อนนำส่ง ทศท เพื่อพิจารณาในการประชุมคณะกรรมการ ทศท ครั้งที่ 2/2545 เมื่อวันที่ 21 สิงหาคม 2545 ว่า รายได้จากผู้ให้บริการรายอื่น มาใช้เครือข่ายของบริษัท เอไอเอส ยังต้องนำมาคำนวณส่วนแบ่งรายได้ตามสัญญาหลัก ส่วนรายจ่ายของบริษัทเอไอเอส จากการใช้เครือข่ายของผู้ให้บริการรายอื่นถือเป็นภาระหน้าที่ สำหรับรายจ่ายของบริษัทเอไอเอส ที่จะต้องขยายเครือข่ายให้สามารถรองรับการให้บริการ

    ต่อมาบริษัท เอไอเอส มีหนังสือลงวันที่ 26 สิงหาคม 2545 เสนอขอปรับหลักการใช้เครือข่ายของบริษัทเอไอเอส และกรณีบริษัทเอไอเอสเข้าไปใช้โครงข่ายร่วมของผู้ให้บริการรายอื่น วันที่ 5 กันยายน 2545 คณะกรรมการ ทศท อนุมัติให้บริษัท เอไอเอส ดำเนินการตามที่ขอได้ ในอัตรานาทีละไม่เกิน 3 บาท ทั่วประเทศ ในกรณีที่บริษัท เอไอเอส ให้ผู้ให้บริการรายอื่นมาใช้โครงข่ายร่วมกัน บริษัทเอไอเอสจะนำมาใช้คำนวณส่วนแบ่งรายได้ให้แก่ ทศท กรณีที่บริษัทเอไอเอส ไปใช้โครงข่ายกับเครือข่ายผู้ให้บริการรายอื่น บริษัท เอไอเอส จะนำรายได้จากค่าใช้บริการที่บริษัท เอไอเอส เรียกเก็บจากผู้ใช้บริการหลัก หักด้วยค่าใช้โครงข่ายร่วมกันที่บริษัทเอไอเอสจ่ายให้แก่เจ้าของเครือข่ายก่อน จึงจะนำมาคำนวณส่วนแบ่งรายได้ให้แก่ ทศท ต่อไป ทศท และบริษัท เอไอเอส ได้ลงนามในข้อตกลงต่อท้ายสัญญาอนุญาตให้ดำเนินกิจการบริษัทโทรศัพท์เคลื่อนที่ ครั้งที่ 7 ลงวันที่ 20 กันยายน 2545 โดยนายสุธรรม มะลิลา ในฐานะผู้แทนฝ่าย ทศท และนายบุญคลี ปลั่งศิริ ในฐานะผู้แทนฝ่ายบริษัทเอไอเอส มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2545 เป็นต้นไป

    กรณีที่ 2 กรณีการปรับลดอัตราการใช้เครือข่ายร่วม ระหว่าง กสท กับบริษัท ดีพีซี ตามสัญญาให้ดำเนินการให้บริการวิทยุโทรคมนาคมระบบเซลูลาร์ ดิจิตอล พีซีเอ็น มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2545 เป็นต้นไป

    กรณีที่ 2 กรณีการปรับลดอัตราการใช้เครือข่ายร่วมระหว่าง กสท กับบริษัท ดีพีซี ตามสัญญา ให้ดำเนินการให้บริการวิทยุคมนาคมเซลลูลาร์ ดิจิตอล พีซีเอ็น 1800 ลงวันที่ 19 พฤศจิกายน 2539 กับ กสท รวมระยะเวลา 17 ปี ซึ่งบริษัท ดีพีซี จะต้องจ่ายเงินผลประโยชน์ตอบแทนให้ กสท เป็นรายปี ตามจำนวนเงินผลประโยชน์ตอบแทนขั้นต่ำ หรือในอัตราร้อยละ โดยถือเอาจำนวนเงินที่มากกว่า ต่อมาในเดือนธันวาคม 2544 บริษัท เอไอเอส เข้าถือหุ้นในบริษัท ดีพีซี เกินกว่าร้อยละ 90 ของจำนวนหุ้นทั้งหมด ทำให้กลุ่มบริษัทดังกล่าวเป็นกลุ่มเดียวกัน วันที่ 27 พฤศจิกายน 2545 กสท มีหนังสือลงวันที่ 27 พฤศจิกายน 2545 อนุมัติให้บริษัท ดีพีซี ใช้เครือข่ายร่วมกับบริษัท เอไอเอส นับตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2545 โดยมีเงื่อนไขว่า กสท จะคิดผลตอบแทนรายได้ที่บริษัท เอไอเอส ใช้เครือข่ายร่วมกับเครือข่ายของบริษัท ดีพีซี ในอัตรานาทีละ 2.10 บาท นับแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2545 เป็นต้นไป และบริษัท ดีพีซี จะต้องจัดส่งแผ่นบันทึกข้อมูลซีดีอาร์การใช้งาน ให้ กสท ตรวจสอบทุกไตรมาส บริษัท ดีพีซี มีหนังสือลงวันที่ 26 ตุลาคม 2548 ถึง กสท แจ้งขอปรับลดอัตราค่าใช้เครือข่ายร่วม จากนาทีละ 2.10 บาท เหลือนาทีละ 1.10 บาท และมีหนังสือวันที่ 9 มกราคม 2549 ถึงกรรมการผู้จัดการใหญ่ กสท ขอปรับลดอัตราค่าใช้เครือข่ายร่วม จากนาทีละ 2.10 บาท เหลือนาทีละ 1.10 บาท กับมีหนังสือลงวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2549 ขอให้ทบทวนเพื่อให้ กสท อนุมัติคำขอของบริษัท ดีพีซี วันที่ 28 มิถุนายน 2549 นายพิศาล จอโภชาอุดม กรรมการผู้จัดการใหญ่ กสท ได้อนุมัติปรับลดอัตราค่าใช้เครือข่ายร่วม แก่บริษัท ดีพีซี ซึ่งบริษัท ดีพีซี นำส่งรายได้แก่ กสท ในอัตราที่ปรับลด 1-1.10 บาทต่อนาที ก่อให้เกิดความเสียหายต่อ กสท จากการปรับลดอัตราค่าใช้เครือข่ายร่วมดังกล่าว เป็นเงิน 796,223,110 บาท จนกระทั่งต่อมา วันที่ 24 มีนาคม 2551 กสท จึงมีหนังสือลงวันที่ 24 มีนาคม 2551 แจ้งให้ บริษัท ดีพีซี ดำเนินการคำนวณค่าใช้บริการเครือข่ายร่วม ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2550 จนถึงปัจจุบัน ในอัตรานาทีละ 2.10 บาท และให้นำส่งผลตอบแทนแก่ กสท ต่อไป
  • การจัดทำข้อตกลงต่อท้ายสัญญาให้ดำเนินกิจการบริษัทโทรศัพท์เคลื่อนที่ ครั้งที่ 7 เพื่ออนุญาตให้ใช้เครือข่ายร่วม และให้หักค่าใช้จ่ายจากรายรับและการปรับลดอัตราค่าใช้เครือข่าย ไม่ได้ดำเนินการให้ถูกต้องตาม พ.ร.บ.ว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมงาน หรือดำเนินการในกิจการของรัฐ พ.ศ.2535 ตามคำวินิจฉัยของคณะกรรมการกฤษฎีกา คณะพิเศษ เรื่องเศษที่ 291/2550 ขัดต่อข้อกำหนดสัญญาอนุญาตให้ดำเนินกิจการบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ ฉบับ... ลงวันที่ 27 มีนาคม 2533 ข้อ 9 ข้อ 16 และข้อ 30 ปรากฏว่าจากเดือนตุลาคม 2545 ถึงเดือนเมษายน 2551 ที่มีการยินยอมให้หักค่าใช้เครือข่ายร่วม พบว่ามีการเข้าไปใช้เครือข่ายร่วมระหว่างบริษัท เอไอเอส กับบริษัท ดีพีซี 13,283,420,483 นาที กสท ขาดรายได้กว่า 6,960,359,401 บาท และ กสท จะต้องสูญเสียผลประโยชน์ที่ควรจะได้รับจนสิ้นอายุสัญญาสัมปทาน ไม่น้อยกว่า 18,175,359,401 บาท และกรณีที่บริษัท ดีพีซี ซึ่งเป็นเจ้าของเครือข่ายที่บริษัท เอไอเอส เข้าไปใช้เครือข่ายร่วมมาก คิดเป็นปริมาณ 13,283,400,220 นาทีเศษ บริษัท เอไอเอส สามารถหักค่าใช้จ่ายต่อ กสท จากการใช้เครือข่ายดังกล่าวได้ ในทางกลับกัน บริษัท ดีพีซี เข้าไปใช้เครือข่ายของบริษัท เอไอเอส ในปริมาณ 384,323,146 นาที ไม่สามารถหักค่าใช้จ่ายดังกล่าวก่อนนำส่งส่วนแบ่งรายได้ให้แก่ กสท แต่อย่างใดทั้งที่เป็นกรณีเดียวกัน

    และจากการตรวจสอบทางทะเบียนผู้ถือหุ้น ปรากฏว่า เมื่อปี 2544 บริษัท เอไอเอส เป็นผู้ถือหุ้นในบริษัท ดีพีซี สัดส่วนเกินกว่าร้อยละ 90 และมีการถือหุ้นดังกล่าวต่อเนื่องจนกระทั่งปัจจุบัน ในสัดส่วนร้อยละ 98.55 ของจำนวนหุ้นทั้งหมด ประกอบกับผู้บริหารบริษัท ดีพีซี เป็นผู้บริหารที่มาจากบริษัท เอไอเอส ร้อยละ 90 จึงถือได้ว่าบริษัททั้งสองเป็นบริษัทเดียวกัน และบริษัท เอไอเอส มีเจตนาที่จะใช้เครือข่ายของบริษัทตนเองโดยที่บริษัท เอไอเอส ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการใช้เครือข่ายดังกล่าวตามข้อกำหนดในสัญญาหลัก เพื่อหลีกเลี่ยงการปฏิบัติตามสัญญาหลักข้อ 16 เนื่องจากต้องมีการลงทุนสูง และต้องส่งมอบกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่สร้างขึ้น ให้แก่ กสท โดยผู้บริหารระดับสูง กสท ดำเนินการปรับแก้มติการประชุมคณะกรรมการกลั่นกรอง จากร่างวาระเดิม ซึ่งฝ่ายบริหารผลประโยชน์มีความเห็นว่า ไม่อนุญาตให้บริษัท เอไอเอส หักค่าใช้จ่ายในการใช้เครือข่ายของบริษัท ดีพีซี ปรับแก้ให้สามารถหักค่าใช้จ่ายดังกล่าว ก่อนนำส่งส่วนแบ่งรายได้ให้แก่ กสท ได้ตามข้อเสนอของบริษัท เอไอเอส และมีการนำร่างแก้ไขดังกล่าวเสนอคณะกรรมการ กสท เพื่อพิจารณาอนุมัติ โดยมีพฤติการที่ส่อไปในทางเอื้อประโยชน์ให้กับบริษัท เอไอเอส ทั้งที่ขัดต่อสัญญาหลักข้อ 4 ข้อ 9 ข้อ 16 และข้อ 30 ส่งผลให้ ทศท และ กสท ต้องสูญเสียประโยชน์ที่พึงจะได้รับ รวมทั้งสิ้นไม่น้อยกว่า 18,970,579,711 บาท เป็นการเอื้อประโยชน์ให้แก่บริษัท เอไอเอส ที่มีบริษัท ชินคอร์ป เป็นผู้ถือหุ้นอยู่ 1,263,712,000 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 43.06

    ทั้งนี้ ผู้ถูกกล่าวหายังคงเป็นผู้ถือหุ้นอยู่ในบริษัท ชินคอร์ป ในระหว่างดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ผลประโยชน์ดังกล่าวจึงตกแก่ผู้ถูกกล่าวหา การที่ ทศท และ กสท ซึ่งเป็นหน่วยงานของรัฐ ภายใต้การบังคับบัญชา หรือกำกับดูแลของผู้ถูกกล่าวหา ในฐานะนายกรัฐมนตรี ตาม พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 ดำเนินการดังกล่าวเป็นการเอื้อประโยชน์ให้แก่บริษัท เอไอเอส มีความได้เปรียบคู่แข่งขันในกิจการโทรคมนาคม เป็นเหตุให้หุ้นของบริษัท ชินคอร์ป มีมูลค่าสูงขึ้น จนกระทั่งมีการขายหุ้นดังกล่าว เงินที่ผู้ถูกกล่าวหาและคู่สมรสได้จากการขายหุ้น จึงเป็นทรัพย์สินที่ได้มาโดยไม่สมควร สืบเนื่องมาจากการปฏิบัติหน้าที่ หรือใช้อำนาจในตำแหน่งหน้าที่

    4. กรณีละเว้นอนุมัติ ส่งเสริมธุรกิจดาวเทียม ตามสัญญาดำเนินกิจการดาวเทียมสื่อสารภายในประเทศ โดยมิชอบหลายกรณี เพื่อเอื้อประโยชน์แก่บริษัท ชินคอร์ป และบริษัท ไทยคม แยกได้ 3 กรณีดังนี้

    (1) กรณีการอนุมัติโครงการดาวเทียมไอพีสตาร์โดยมิชอบ โครงการดาวเทียมสื่อสารภายในประเทศ มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้สำหรับการสื่อสารภายในประเทศ โดยกระทรวงคมนาคม เป็นผู้ดำเนินการ กำหนดให้มีดาวเทียมหลัก และระบบดาวเทียมสำรอง ผู้ถูกกล่าวหาในฐานะประธานบริษัท ชินคอร์ป ได้เข้าแข่งขันรับสัมปทานกับเอกชนรายอื่นๆ และมีการเสนอเพิ่มเติมว่า จะลงทุนมากขึ้นโดยตลอดอายุสัญญา 30 ปี จะสร้างและส่งดาวเทียมสำรองขึ้นสู่อวกาศ ระยะเวลาห่างจากดาวเทียมดวงหลักไม่เกิน 12 เดือน ผู้ถูกกล่าวหาได้ทำหนังสือ ลงวันที่ 2 มกราคม 2534 ยืนยันข้อเสนอเพิ่มเติมดังกล่าวไว้เป็นลายลักษณ์อักษรอีกชั้นหนึ่ง ซึ่งเป็นข้อเสนอที่ทำให้กระทรวงคมนาคมเสนอคณะรัฐมนตรีอนุมัติให้บริษัท ชินคอร์ป ได้รับสัมปทานและมีการลงนามสัญญาดำเนินกิจการดาวเทียมสื่อสารภายในประเทศ ลงวันที่ 11 กันยายน 2534 โดยการระบุการดำเนินการตามแผนงานคุณสมบัติของดาวเทียม ระบบดาวเทียมสำรอง การเปลี่ยนแปลงผลการดำเนินงาน จะต้องได้รับความเห็นชอบจากกระทรวงคมนาคมก่อน

    เฉพาะแผนดำเนินการนั้นระบุรายละเอียดไว้ว่า ตามระยะเวลาสัญญาสัมปทาน 30 ปี จะส่งดาวเทียมหลัก และดาวเทียมสำรอง จำนวน 2 ชุด แต่ละชุดมีดาวเทียม 2 ดวง รวมมีดาวเทียมทั้งหมด 4 ดวง ซึ่งดาวเทียมสำรองจะส่งขึ้นสู่อวกาศมีระยะห่างจากดาวเทียมหลัก ไม่เกิน 12 เดือน มีการจัดตั้งบริษัทใหม่ขึ้นตามสัญญาสัมปทาน คือ บริษัท ไทยคม เพื่อบริหารโครงการ ได้ส่งดาวเทียมไทยคม 1 ขึ้นสู่อวกาศในปี 2536 ดาวเทียมไทยคม 2 ในปี 2537 ตามแผนงานแนบท้ายสัญญาสัมปทาน และได้รับอนุมัติให้ส่งดาวเทียมไทยคม 3 เร็วขึ้นกว่ากำหนด ตามแผนงานที่บริษัทไทยคมร้องขอ โดยส่งดาวเทียมไทยคม 3 ขึ้นสู่อวกาศ ในปี 2540 และมีกำหนดส่งดาวเทียมไทยคม 4 เพื่อใช้เป็นดาวเทียมสำรอง ในปี 2541
  • ทั้งนี้ ตามแผนงานใหม่ที่ได้รับอนุมัตินั้นจะมีดาวเทียมชุดที่ 3 ด้วย เนื่องจากส่งชุดที่ 2 เร็วขึ้น บริษัท ไทยคม ขอนุมัติสร้างและส่งดาวเทียมไทยคม 4 เพื่อใช้เป็นดาวเทียมสำรองของดาวเทียมไทยคม 3 โดยมีกำหนดส่งขึ้นสู่อวกาศในปี 2551 เมื่อถึงกำหนดได้ขอเลื่อนการส่งดาวเทียมท 2 ครั้ง และเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติของดาวเทียมไทยคม 4 เป็นดาวเทียมไอพีสตาร์ โดยร้องขอเป็นดาวเทียมสำรองเช่นเดิม ตามหนังสือลงวันที่ 26 กรกฎาคม 2545 แต่มีรายละเอียดทางเทคนิคที่ไม่เหมือนกับดาวเทียมไทยคม 3

    ต่อมากระทรวงคมนาคมมอบให้กรมไปรษณีย์โทรเลข ศึกษาข้อเทคนิคของดาวเทียมไอพีสตาร์แล้ว ซึ่งผลการศึกษา กรมไปรษณีย์โทรเลขได้พิจารณาจากข้อเทคนิคแล้วเห็นว่า เป็นดาวเทียมหลักดวงใหม่ ไม่ใช่ดาวเทียมสำรอง ซึ่งจัดสร้างแทนดาวเทียมไทยคม 4 และนำผลการศึกษาดังกล่าวเข้าประชุมในคณะกรรมการประสานงานโครงการดาวเทียมสื่อสารภายในประเทศ ในคราวพิจารณาโครงการดาวเทียมไอพีสตาร์ ครั้งที่ 1/2545 ลงวันที่ 29 สิงหาคม 2545 ที่ประชุมมีมติว่า เป็นดาวเทียมหลักดวงใหม่ เช่นเดียวกับความเห็นของกรมไปรษณีย์โทรเลข แต่เมื่อมีการประชุมคณะกรรมการประสานงาน ครั้งที่ 2/2545 ลงวันที่ 10 กันยายน 2545 ปรากฏว่า มีการแก้ไขมติครั้งที่ 1/2545 โดยมีการเปลี่ยนแปลงและอนุมัติให้เป็นดาวเทียมสำรอง ตามที่บริษัทร้องขอ และให้เสนอขออนุมัติโครงการต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม โดยที่ยังไม่มีการรับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 2/2545 แต่มีการทำหนังสือเสนอขออนุมัติต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ตามหนังสือลงวันที่ 18 กันยายน 2545 ซึ่งได้มีการอนุมัติในเวลาต่อมา เมื่อวันที่ 24 กันยายน 2545 โดยนายวันมูหะมัดนอร์ มะทา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ทั้งนี้ เลขานุการคณะกรรมการประสานงาน ได้ทำหนังสือเวียนไปยังคณะกรรมการประสานตามหนังสือลงวันที่ 27 กันยายน 2545 เพื่อขอให้รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 2/2545 พร้อมกันนี้กระทรวงคมนาคมได้ทำหนังสือแจ้งบริษัทไทยคม ว่า ได้รับอนุมัติโครงการดาวเทียมไอพีสตาร์แล้ว

    ต่อมาวันที่ 16 กรกฎาคม 2546 บริษัทไทยคมยื่นขอส่งเสริมการลงทุนในโครงการดาวเทียมไอพีสตาร์ มูลค่า 16,000 ล้านบาท ระบุว่าได้สร้างอุปกรณ์ไว้โดยเฉพาะเพื่อเชื่อมต่อกับภาคพื้นดิน สำหรับใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศต่างๆ 18 แห่ง มากกว่า 14 ประเทศ โดยมีแผนการตลาดจำหน่ายภายในประเทศร้อยละ 6 ต่างประเทศร้อยละ 94 และส่งขึ้นสู่อวกาศสำเร็จเมื่อวันที่ 11 สิงหาคม 2548

    (2) กรณีการอนุมัติแก้ไขสัญญาดำเนินกิจการสื่อสารภายในประเทศ ครั้งที่ 5 ลงวันที่ 27 ตุลาคม 2547 ลดสัดส่วนการถือหุ้นของบริษัท ชินคอร์ป ที่ต้องถือในบริษัท ไทยคม จากไม่น้อยกว่าร้อยละ 51 เป็นไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 เมื่อวันที่ 24 ธันวาคม 2546 บริษัทไทยคมร้องขออนุมัติแก้ไขสัญญาสัมปทาน โดยให้เหตุผลใช้เงินลงทุนในโครงการดาวเทียมไอพีสตาร์สูงมาก ต้องหาพันธมิตรเข้าร่วมลงทุน จึงทำให้ต้องลดสัดส่วนการถือหุ้นต่อกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร รับโอนจากกระทรวงคมนาคม ตามกฎหมายปฏิรูปราชการ ระบบราชการ ซึ่งมีการหารือกรณีการขอแก้ไขสัญญาสัมปทานเพื่อลดสัดส่วนการถือหุ้นแล้ว

    สำนักงานอัยการสูงสุดมีข้อสังเกตว่า กรณีการแก้ไขเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขสัญญา ซึ่งเป็นสาระสำคัญของสัญญา และเป็นส่วนหนึ่งแห่งที่มาของการอนุมัติโดยคณะรัฐมนตรี ควรเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาก่อนจะลงนามสัญญา กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร จึงทำหนังสือถึงสำนักงานเลขาธิการคณะรัฐมนตรี เพื่อเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณา แต่สำนักงานเลขาธิการคณะรัฐมนตรีได้ส่งเรื่องคืน โดยเห็นว่าไม่อยู่ในหลักเกณฑ์ที่จะต้องเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณา ประกอบกับคณะรัฐมนตรีมีนโยบายที่จะลดเรื่องที่จะเสนอ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารได้ทำหนังสือหารือสำนักงานอัยการสูงสุดอีกครั้ง ซึ่งได้ตอบหนังสือหารือว่า เมื่อสำนักงานเลขาธิการนายกรัฐมนตรีมีความเห็นว่าเรื่องนี้ไม่อยู่ในเกณฑ์ที่จะเสนอคณะรัฐมนตรี ดังข้อเสนอแนะของสำนักงานอัยการสูงสุด กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร จึงมีดุลพินิจที่จะแก้ไขสัญญาได้

    ต่อมา นายสุรพงษ์ สืบวงศ์ลี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ได้อนุมัติให้แก้ไขสัญญาสัมปทาน โดยมีการลงนามแก้ไขสัญญาสัมปทานครั้งที่ 5 เมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2547

    (3) กรณีการอนุมัติให้ใช้เงินค่าสินไหมทดแทนของดาวเทียมไทยคม 3 ที่ได้รับความเสียหาย 6,700,000 ดอลลาร์สหรัฐฯ ไปเช่าช่องสัญญาณดาวเทียมเพื่อใช้ทดแทนดาวเทียมไทยคม 3 พร้อมทั้งใช้เป็นช่องสัญญาณสำรอง ตามหนังสือลงวันที่ 11 สิงหาคม 2545 นายสุรพงษ์ สืบวงศ์ลี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ได้อนุมัติตามที่บริษัทไทยคมร้องขอ และอนุมัติให้นำค่าสินไหมทดแทนอีกส่วนหนึ่งจำนวน 26 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ไปสร้างดาวเทียมดวงใหม่ทดแทน ชื่อว่าดาวเทียมไทยคม 5 ... โดยหากค่าสร้างสูงกว่า ก็ให้บริษัทไทยคมรับผิดชอบในส่วนต่างที่เพิ่ม เมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2546 ตามหนังสือลงวันที่ 29 ตุลาคม 2546 จึงมีประเด็นเกี่ยวกับการเอื้อประโยชน์ รวม 3 กรณี ดังนี้
  • (1) กรณีการอนุมัติโครงการดาวเทียมไอพีสตาร์โดยมิชอบ เพราะดาวเทียมไอพีสตาร์ไม่สามารถใช้เป็นดาวเทียมสำรองดาวเทียมไทยคม 3 ได้ตามเงื่อนไขแห่งสัญญาสัมปทาน เนื่องจากดาวเทียมไทยคม 3 ซึ่งเป็นดาวเทียมหลัก มีช่องสัญญาณความถี่ซีแบนด์ จำนวน 25 ทรานส์พอนเดอร์ และเคยูแบนด์ 14 ทรานส์พอนเดอร์ แต่ดาวเทียมไอพีสตาร์นั้น คุณสมบัติทางเทคนิคพัฒนาขึ้นเป็นการเฉพาะครั้งแรกของโลก ซึ่งมีการจดสิทธิบัตรไว้ โดยใช้ความถี่เคยูแบนด์ รับและส่งข้อมูลให้ลูกค้าในลักษณะสปอตบีม จำนวน 84 บีม เซพบีม จำนวน 3 บีม และบรอดคาสต์บีม จำนวน 7 บีม และใช้ความถี่เคเอแบนด์ ในการสื่อใช้ความถี่เคเอแบนด์ในการสื่อสาร รับส่งข้อมูลจากสถานีภาคพื้นดินกับดาวเทียมบนอวกาศในการเชื่อมต่อระบบอินเตอร์เน็ต ทั้งนี้ ไม่มีความถี่ซีแบนด์แต่อย่างใด จึงทำให้ดาวเทียมไอพีสตาร์ไม่สามารถเป็นดาวเทียมสำรองของดาวเทียมไทยคม 3 ได้ดวงต่อดวง ตามเงื่อนไขของสัญญาสัมปทาน ซึ่งแตกต่างจากดาวเทียมดวงอื่นๆ และไม่สามารถสำรองดาวเทียมไทยคม 3 ได้ เพราะมีเทคโนโลยีที่แตกต่างกัน ทั้งกรมไปรษณีย์โทรเลขให้ความเห็นว่า ดาวเทียมไอพีสตาร์เป็นดาวเทียมหลักดวงใหม่ ไม่ใช่ดาวเทียมสำรองของดาวเทียมไทยคม 3

    ประกอบกับการที่คณะกรรมการประสานงาน ครั้งที่ 1/2545 วันที่ 29 สิงหาคม 2545 ได้มีมติว่าดาวเทียมไอพีสตาร์ เป็นดาวเทียมดวงใหม่ แต่ได้มีการแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายงานการประชุม และอนุมัติให้ดาวเทียมไอพีสตาร์เป็นดาวเทียมสำรอง ตามผลการประชุมของคณะกรรมการประสานงานครั้งที่ 2/2545 วันที่ 10 กันยายน 2545 ซึ่งขัดแย้งกัน

    นอกจากนี้ยังมีการเสนอความเห็นของคณะกรรมการประสานงานต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ทั้งที่ยังไม่ได้มีการรับรองรายงานการประชุมทั้ง 2 ครั้งแต่อย่างใด ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมได้อนุมัติคุณสมบัติดาวเทียมไอพีสตาร์ ให้เป็นดาวเทียมสำรองตามที่เสนอเมื่อวันที่ 24 กันยายน 2545 โดยจัดทำหนังสือเวียนเมื่อวันที่ 27 กันยายน 2545 ให้คณะกรรมการประสานงานรับรองรายงานการประชุมทั้ง 2 ครั้ง เมื่อดาวเทียมไอพีสตาร์ไม่สามารถเป็นดาวเทียมสำรองของดาวเทียมไทยคม 3 ได้ตามสัญญาสัมปทาน ทำให้ความมั่นคงในการสื่อสารดาวเทียมของชาติต้องเสียหาย ไม่มีดาวเทียมไทยคม 4 เพื่อเป็นสำรองของดาวเทียมไทยคม 3 ได้ทั้งดวง จนกระทั่งถึงปัจจุบัน

    การอนุมัติดังกล่าวจึงไม่ชอบ และเป็นการเอื้อประโยชน์ให้บริษัทไทยคมไม่ต้องปฏิบัติตามสัมปทาน โดยไม่มีภาระกู้ยืมเงิน หรือเพิ่มทุน เพื่อนำเงินมาลงทุนในการส่งดาวเทียม ดาวเทียม 4 เป็นมูลค่า 4,000 ล้านบาท และรัฐต้องเสียหายจากการไม่ได้รับมอบทรัพย์สินจากโครงการดาวเทียมไทยคม 4 มูลค่า 4,000 ล้านบาท การอนุมัติโครงการดาวเทียมไอพีสตาร์ เป็นโครงการใหม่ที่ยอู่นอกกรอบของสัญญาสัมปทาน จึงไม่ได้สร้างเพื่อการสื่อสารภายในประเทศ ต้องดำเนินการให้มีการแข่งขันใหม่อย่างเป็นธรรม ทั้งด้านการบริหารงานและอัตราการจ่ายผลประโยชน์ตอบแทนให้แก่รัฐ ซึ่งต้องดำเนินการตามกระบวนการของ พ.ร.บ.ว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมงาน หรือการดำเนินการในกิจการของรัฐ พ.ศ.2535 ดังนั้นการอนุมัติของเจ้าหน้าที่ซึ่งอยู่ภายใต้การบังคับบัญชาหรือกำกับดูแลและควบคุมตรวจสอบของผู้ถูกกล่าวหาดังกล่าว เป็นการอนุมัติโดยไม่ชอบ เอื้อประโยชน์ให้แก่บริษัทไทยคมของผู้ถูกกล่าวหา ไม่ต้องมีการแข่งขัน เพื่อยื่นข้อเสนอขอรับสัมปทานโครงใหม่ อย่างเป็นธรรม มูลค่าโครงการ 16,000 ล้านบาท

    (2) กรณีการอนุมัติแก้ไขสัญญาสัมปทานครั้งที่ 5 เมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2547 เพื่อลดสัดส่วนการถือหุ้นของบริษัทชินคอร์ป ที่ต้องถือในบริษัท ไทยคม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 51 เป็นไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 นั้น สัญญาการดำเนินกิจการดาวเทียมการสื่อสารภายในประเทศ ซึ่งบริษัทชินคอร์ปได้รับสัมปทานจากกระทรวงคมนาคม ระบุเงื่อนไขต่างๆ ไว้ในสัญญา โดขในข้อ 4 ของสัญญาสัมปทานกำหนดให้มีการจัดตั้งบริษัทใหม่ โดยบริษัทชินคอร์ปต้องเป็นผู้ถือหุ้นส่วนใหญ่ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 51 ในบริษัทใหม่ที่เป็นผู้ดำเนินบริหารโครงการ แต่ข้อเท็จจริงในการแก้ไขสัญญาสัมปทานครั้งที่ 5 เมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2547 ลดสัดส่วนการถือหุ้นดังกล่าว โดยไม่มีการนำเสนอคณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบ ทั้งที่เงื่อนไขในข้อ 4 ของสัญญาสัมปทานอันเป็นนัยสำคัญประการหนึ่งที่คณะรัฐมนตรีได้อนุมัติให้บริษัทชินคอร์ปของผู้ถูกกล่าวหาได้รับสัมปทาน

    การอนุมัติให้แก้ไขสัญญาสัมปทานจึงเป็นการอนุมัติโดยมิชอบ เอื้อประโยชน์ให้แก่บริษัทชินคอร์ปของผู้ถูกกล่าวหา เพราะในกรณีบริษัทไทยคมทำการเพิมทุนเพื่อดำเนินโครงการใดๆ โดยเฉพาะโครงการดาวเทียมไอพีสตาร์ที่ต้องใช้เงินลงทุนสูงกว่า จึงเป็นการอนุมัติโดยมิชอบ เอื้อประโยชน์ให้แก่บริษัทชินคอร์ป ของผู้ถูกกล่าวหา เพราะในกรณีบริษัทไทยคมทำการเพิ่มทุนเพื่อดำเนินโครงการใดๆ โดยเฉพาะโครงการดาวเทียมไอพีสตาร์ที่ต้องใช้เงินลงทุนสูงกว่า 16,000 ล้านบาทนั้น บริษัท ชินคอร์ป ในฐานะผู้ถือหุ้นใหญ่ในบริษัท ไทยคม ไม่ต้องระดมทุน หรือกู้ยืมเงินมาซื้อหุ้นเพื่อรักษาสัดส่วนร้อยละ 51 ของตนเอง และมีผลเป็นการลดทนความเชื่อมั่นและมั่นคงในการดำเนินโครงการของบริษัทชินคอร์ป ในฐานะผู้ได้รับสัมปทานโดยตรงที่ต้องมีอำนาจควบคุมบริหารกิจการอย่างเบ็ดเสร็จเด็ดขาดได้ และต้องเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ไม่น้อยกว่าร้อยละ 51 ในบริษัท ไทยคม ซึ่งเป็นผู้บริหารโครงการดาวเทียมตามสัญญาสัมปทานอีกชั้นหนึ่ง
  • (3) กรณีการอนุมัติให้ใช้ค่าสินไหมทดแทนของบริษัทดาวเทียมไทยคม 3 จำนวน 6,700,000 ดอลลาร์สหรัฐ ไปเช่าช่องสัญญาณต่างประเทศนั้น สัญญาดำเนินกิจการดาวเทียมสื่อสารภายในประเทศระบุเงื่อนไขให้มีดาวเทียมสำรองไว้ในข้อ 5.1.4 ข้อ 6 และข้อ 7 ให้ทำสัญญาประกันภัยทรัพย์สินทุกชนิดไว้ในข้อ 25 และการจัดการทรัพย์สินที่เสียหายหรือสูญหายไว้ในข้อ 37 ของสัญญาสัมปทาน

    กล่าวคือ เมื่อเกิดความเสียหายขึ้นจะต้องรีบซ่อมแซมทรัพย์สินที่เสียหาย หรือจัดหาทรัพย์สินทดแทนทรัพย์สินที่สูญหายโดยทันที โดยกระทรวงคมนาคมจะมอบค่าสินไหมทดแทนที่ได้รับจากบริษัทประกันภัย ให้บริษัทไทยคมเพื่อจัดการดังกล่าว เมื่อซ่อมแซมและจัดหามาทดแทนแล้ว จะต้องตกเป็นทรัพย์สินของรัฐตามสัญญาสัมปทาน มิได้กำหนดให้มีการเช่าดาวเทียมใช้เป็นระบบสำรองไว้

    ในปี 2546 เกิดเหตุการณ์ดาวเทียมไทยคม 3 เสียหายเป็นส่วนใหญ่ บริษัทไทยคมได้ร้องขอให้นำเงินบางส่วนที่ได้รับค่าสินไหมทดแทนดาวเทียมไทยคม 3 ไปเช่าดาวเทียมของต่างประเทศ ประมาณ 6,700,000 ดอลลาร์สหรัฐ เพื่อใช้ทดแทนช่องสัญญาณเดิม และใช้เป็นสำรอง ซึ่งเป็นการขัดต่อสัญญาสัมปทาน เนื่องจากบริษัทไทยคมทำผิดสัญญา ไม่มีดาวเทียมสำรองดาวเทียมไทยคม 3 มาโดยตลอด จึงต้องเป็นผู้รับภาระค่าใช้จ่ายทั้งหมดในการดำเนินการให้มีดาวเทียมใช้อย่างพอเพียงและต่อเนื่อง อย่างมีประสิทธิภาพ ไม่มีสิทธิ์นำเงินค่าสินไหมทดแทนไปเช่าช่องสัญญาณต่างประเทศ แต่ต้องนำเงินค่าสินไหมทดแทน 33 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ที่ได้รับทั้งหมดไปสร้างดวงใหม่ทดแทน ตามเงื่อนไขแห่งสัญญาสัมปทาน

    เจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งอยู่ภายใต้การบังคับบัญชา หรือกำกับดูแลควบคุม ตรวจสอบ ของผู้ถูกกล่าวหา กลับอนุมัติตามที่ร้องขอ อันเป็นการอนุมัติที่ไม่ชอบ เอื้อประโยชน์ให้แก่บริษัทไทยคม เพราะในช่วงเวลานั้นบริษัท ไทยคม ไม่ต้องระดมทุนของตนเอง หรือกู้ยืมเงิน ช่วงเวลาไปเช่าดาวเทียมจากต่างประเทศมูลค่าประมาณ 268,000,000 ล้านบาท หรือ 6,700,000 ดอลลาร์สหรัฐฯ ณ ค่าเงินบาท 40 บาทต่อ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ และทำให้เกิดความเสียหายแก่รัฐ เนื่องจากทรัพย์สินที่ทำประกันภัยเป็นของรัฐ ค่าสินไหมทดแทนดังกล่าวรัฐต้องเป็นผู้ควบคุมดูแลและคงไว้เป็นหลักประกันความมั่นคง กรณีไม่สามารถซ่อมแซมหรือหาทรัพย์สินทดแทนเพื่อใช้ดำเนินการต่อไปได้ โดยต้องสร้างดาวเทียมดวงใหม่ทดแทน ตามสัญญาสัมปทานให้แล้วเสร็จก่อน

    ผู้ถูกกล่าวหา ซึ่งดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในขณะนั้น มีอำนาจหน้าที่บังคับบัญชา หรือกำกับดูแลหน่วยงานของรัฐ ตาม พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 มีเหตุเชื่อได้ว่า หน่วยงานของรัฐได้ใช้อำนาจโดยมิชอบด้วยกฎหมายสัญญาสัมปทาน และไม่สมเหตุผล

    ทั้ง 3 กรณีดังกล่าวเป็นการเอื้อประโยชน์ให้แก่บริษัทชินคอร์ป และบริษัทไทยคม ซึ่งเป็นผู้ได้รับสัมปทานโดยตรง ผลประโยชน์ดังกล่าวจึงตกแก่ผู้กล่าวหา การละเว้น อนุมัติ ส่งเสริม สนับสนุนธุรกิจดาวเทียมตามสัญญาดำเนินการกิจการดาวเทียมสื่อสารภายในประเทศโดยมิชอบทั้ง 3 กรณีนั้น เป็นการเอื้อประโยชน์แก่บริษัท ชินคอร์ป และบริษัท ไทยคม

    ข้อ 5. กรณีอนุมัติให้รัฐบาลสหภาพพม่ากู้เงินจากธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย เพื่อนำไปซื้อสินค้าและบริการของบริษัทไทยคมโดยเฉพาะนั้น ระหว่างวันที่ 6-8 ตุลาคม 2546 ผู้ถูกกล่าวหาในฐานะนายกรัฐมนตรี เดินทางไปร่วมประชุมสุดยอดผู้นำอาเซียนที่เมืองบาหลี สาธารณรัฐอินโดนีเซีย ในการหารืออย่างเป็นทางการกับนายกรัฐมนตรีสหภาพพม่า ไม่มีการหารือเรื่องการให้ความช่วยเหลือทางด้านการเงินแก่สหภาพพม่า แต่หลังจากประชุมดังกล่าว กระทรวงการต่างประเทศสหภาพพม่า มีหนังสือลงวันที่ 13 ตุลาคม 2546 ถึงกระทรวงการต่างประเทศไทย อ้างการหารืออย่างไม่เป็นทางการ ไม่มีการหารือเรื่องการให้ความช่วยเหลือทางด้านการเงินแก่สหภาพพม่า แต่หลังจากประชุมดังกล่าว กระทรวงการต่างประเทศสหภาพพม่ามีหนังสือลงวันที่ 13 ตุลาคม 2546 ถึงกระทรวงการต่างประเทศไทย อ้างการหารืออย่างไม่เป็นทางการระหว่างผู้ถูกกล่าวหา กับนายกรัฐมนตรีสหภาพพม่า ว่าผู้ถูกกล่าวหาแสดงความพร้อมของประเทศไทยที่จะให้ความช่วยเหลือด้านการเงินแก่สหภาพพม่า ขอวงเงินสินเชื่ออย่างน้อย 3,000 ล้านบาท เพื่อซื้อเครื่องจักรก่อสร้างและวัสดุอุปกรณ์จากประเทศไทย ใช้ในการก่อสร้างโครงการพื้นฐาน